Thailand Environment Statistics 2012
ข้อมูลพื้นฐาน บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ภูมิประเทศ : ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ทั้งสิ้น 513,118.8 ตร.กม. แบ่งพื้นที่ตามลักษณะภูมิประเทศ โดยภาคเหนือ มีลักษณะเป็นภูเขาและป่าทึบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและแห้งแล้ง ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม และภาคใต้มีลักษณะเป็นคาบสมุทรมีชายฝั่งทะเลยาว ประมาณ 3,148.2 กิโลเมตร โดยมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเลถึงสองด้าน คือ ชายฝั่งทะเลตะวันออกติดกับอ่าวไทย ด้าน มหาสมุทรแปซิฟิค ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลจีนใต้ และชายฝั่งทะเลตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน ด้านมหาสมุทร อินเดีย มีภูเขาทอดยาวเป็นแนวจากเหนือ – ใต้ ซึ่งภาคเหนือ มีพื้นที่มากที่สุด 169,644.3 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 33.1ของพื้นที่ทั้งประเทศ รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง(รวมปริมณฑลภาคตะวันออกและภาค ตะวันตก) คิดเป็นร้อยละ 32.9 และ 19.9 ตามลำ �ดับ ภาคใต้มีพื้นที่น้อยที่สุดคือ ร้อยละ 13.8 สำ �หรับกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่เพียงร้อยละ 0.3 ของพื้นที่ทั้งประเทศเท่านั้น ภูมิ อากาศ : ประเทศไทยตั้ งอยู่ในเขตร้อนและได้รับอิ ทธิ พลจากลมมรสุม 2 ชนิ ดคื อ ลมมรสุมตะวันออก เฉี ยงเหนื อ เริ่ มประมาณกลางเดื อนตุลาคมไปจนถึ งกลางเดื อนกุมภาพันธ์ มี แหล่งก� ำเนิ ดแถบประเทศมองโกเลี ยและ จี น มี คุณสมบัติ หนาวเย็นและค่อนข้างแห้ง (มี ไอน� ้ำน้อย) ดังนั้ น เมื่ อพัดเข้าสู่ประเทศไทยจึ งท� ำให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศ หนาวเย็นและแห้งแล้งเกื อบทั่วไป โดยเฉพาะภาคเหนื อและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ส่วนภาคใต้จะมี ฝนตกชุก และ ลมมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ ซึ่ งมี แหล่งก� ำเนิ ดในมหาสมุทรอิ นเดี ย ลมนี้ เป็นลมที่ ร้อนและชุ่มชื้ น (มี ไอน� ้ำมาก) เมื่ อพัด เข้าสู่ประเทศไทยจะท� ำให้มี เมฆมากและมี ฝนตกชุกทั่วไปในภาคต่าง ๆ ของประเทศระหว่างเดื อนพฤษภาคมถึ งเดื อน ตุลาคม ปกติ จะมี สภาพฝนทิ้ งช่วงสั้ นๆ ในเดื อนมิ ถุนายนและกรกฎาคม หลังจากนั้ นจะมี ฝนตกชุกและหนัก เนื่ องมา จากพายุโซนร้อนจากทะเลจี นใต้พัดผ่านประเทศ ซึ่ งปริ มาณน� ้ ำฝนที่ ตกลงมานั้ นจะมี มากหรื อน้อยก็เนื่ องมาจากการ ได้รับอิ ทธิ พลจากพายุดี เปรสชั่น พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น ฯลฯ ที่ พัดผ่านเข้ามาว่าจะมี มากน้อยเพี ยงใด อุณหภูม ิ : สภาวะอากาศโดยทั่วไปร้อนอบอ้าวเกือบตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27.0 องศา เซลเซียส อาจจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่และฤดูกาล ในฤดูร้อนอุณหภูมิสูงสุดในตอนบ่าย จะสูงถึงเกือบ 40 องศาเซลเซี ยส หรื อมากกว่านั้ นในช่วงเดื อนมี นาคมถึ งพฤษภาคม ส่วนฤดูหนาวอุณหภูมิ ต�่ ำสุดในตอนเช้ามื ด จะลดลงอยู่ในเกณฑ์หนาวถึ งหนาวจัด โดยเฉพาะเดื อนธันวาคมถึ งมกราคม อุณหภูมิ อาจลดลงต�่ ำกว่าจุดเยื อกแข็ง ได้ในภาคเหนื อและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อบริ เวณพื้ นที่ ซึ่ งเป็นเทื อกเขาหรื อบนยอดเขาสูง ส� ำหรับพื้ นที่ ซึ่ งอยู่ ติ ดทะเลได้แก่ ภาคตะวันออกตอนล่างและภาคใต้ความผันแปรของอุณหภูมิ ในช่วงวันและฤดูกาลจะน้อยกว่า โดยฤดู ร้อนอากาศไม่ร้อนจัดและฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัดเท่าพื้ นที่ ซึ่ งอยู่ลึ กเข้าไปในแผ่นดิ น ภัยธรรมชาติ : ในปี 2554 ประเทศไทยได้ประสบภัยปัญหาอุทกภัยครั้ งใหญ่ ตั้ งแต่ปลายเดื อนกรกฎาคม 2554 จนถึ งเดื อนมกราคม 2555 จากอิทธิ พลของพายุโซนร้อน “นกเตน” (NOCK-TEN) ร่องมรสุมก� ำลังปานกลาง ถึ งค่อนข้างแรงพาดผ่านประเทศไทย และน� ้ำล้นตลิ่ ง มี พื้ นที่ ได้รับผลกระทบและประกาศเป็นพื้ นที่ ประสบภัยพิ บัติ กรณี ฉุกเฉิ น (อุทกภัย) รวมทั้ งสิ้ น 65 จังหวัด 684 อ� ำเภอ 43,636 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดื อดร้อน 4,086,138 ครัวเรื อน 13,595,192 คน ซึ่ งนับเป็นมหาอุทกภัยครั้ งใหญ่ที่ ต้องบันทึ กไว้เป็นประวัติ ศาสตร์แห่งความสูญเสี ยอี กครั้ ง หนึ่ ง ข้อมูลในบทนี้ประกอบด้วย ภูมิประเทศ : เนื้อที่ประเทศ และเขตการปกครอง ความยาวและสถานการณ์ชายฝั่งทะเล ภูมิ อากาศ : อุณหภูมิ เฉลี่ ย ปริ มาณน� ้ำฝนเฉลี่ ย และความชื้ นสัมพัทธ์เฉลี่ ย ความเสียหายจากภัยธรรมชาติและอุบัติภัย : อุทกภัย วาตภัย แผ่นดินไหว ภัยแล้ง ภัยหนาว อัคคีภัย ไฟป่า ฟ้าผ่า และพายุ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==