Thailand Environment Statistics 2012

อากาศและเสี ยง บทที่ 2 อากาศและเสี ยง โลกมี ชั้ นของบรรยากาศห อหุ มโดยรอบหนาประมาณ 15 กิ โลเมตร ซึ่ งประกอบไปด วย ก าซต าง ๆ มากมาย ก าซที่ สําคัญต อสิ่ งมี ชี วิ ตในโลก คื อ ก าซออกซิ เจน ซึ่ งมี สัดส วน 20.94% อยู ในชั้ นของบรรยากาศหนาประมาณ 5-6 กิ โลเมตร ก าซไนโตรเจนและก าซคาร บอนไดออกไซด (รวมก าซเฉื่ อย) เป นสัดส วน 78.09% และ 0.97% ตามลําดับ ในปริ มาณคงที่ ซึ่ งถื อว าเป นอากาศบริ สุทธิ์ แต เมื่ อใดส วนประกอบต าง ๆ ของอากาศเปลี่ ยนแปลงไป โดยปริ มาณของฝุ นละออง กลิ่ น หมอกควัน ไอนํ้ า เขม า กัมมันตภาพรังสี และเชื้ อจุลิ นทรี ย ต างๆ ในบรรยากาศ มากเกิ นไปเราเรี ยกสภาวะนี้ ว า อากาศเสี ยหรื อมลพิ ษทางอากาศ จากการเจริ ญเติ บโตทางเศรษฐกิ จและการพัฒนาประเทศอย างต อเนื่ อง รวมทั้ งการขยายตัวในเขตเมื อง การเพิ่ มของประชากร ตลอดจนการดําเนิ นกิ จกรรมต างๆ นับเป นป จจัยสําคัญซึ่ งก อให เกิ ดมลพิ ษทางอากาศ และ เสี ยง โดยแหล งกําเนิ ดมลพิ ษทางอากาศที่ สําคัญเกิ ดจากการคมนาคมขนส ง แหล งกําเนิ ดไฟฟ า อุตสาหกรรม ย าน พาณิ ชยกรรมและที่ อยู อาศัย ฯลฯ ซึ่ งแหล งกําเนิ ดเหล านี้ ในแต ละป จะปล อยก าซที่ ทําให เกิ ดมลพิ ษเป นปริมาณมาก เพิ่ มขึ้ นทุก ๆ ป และส งผลให อุณหภูมิ โลกสูงขึ้ น สําหรับประเทศไทยก็ได รับผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพ ภูมิ อากาศในหลาย ๆ ด าน ได แก ระดับนํ้ าทะเลที่ เพิ่ มสูงขึ้ น มี ผลต อสภาวะคลื่ นและการกัดเซาะชายฝ  ง ระบบนิ เวศ ชายฝ  งทะเล อุณหภูมิ เฉลี่ ยในที่ ต างๆ สูงขึ้ น และที่ เห็นได ชัดคื อ เหตุการณ นํ้ าท วมใหญ ในป 2554 ซึ่งส งผลต อสภาพ จิ ตใจและความเสี ยหายต อทรัพย สิ นและชี วิ ตอย างมาก รัฐบาลได พยายามหาหนทางแก ไขป ญหาดังกล าว ซึ่ งจําเป นต องใช เวลาและต องมี การปฏิ บัติ อย างต อเนื่ อง เพื่ อจะได สัมฤทธิ์ ผล จึ งได มี นโยบายและแผนการส งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล อมแห งชาติ พ.ศ. 2540 – 2559 โดยกําหนดนโยบายป องกันและขจัดมลพิ ษทางอากาศให เป นไปตามมาตรฐานที่ กําหนด ส งเสริ มและสนับสนุนการใช ระบบขนส งที่ มี มลพิ ษน อย และยังมี นโยบายป องกันควบคุมและแก ไขให ระดับเสี ยงและความสั่นสะเทื อนอยู ในเกณฑ มาตรฐานที่ กําหนด มี การควบคุมระดับเสี ยงจากแหล งกําเนิ ดทุกประเภทเพื่อลดป ญหามลพิ ษทางเสี ยง ซึ่ งทั้ งภาครัฐ และเอกชนจะต องร วมกันแก ไขและป องกันไม ให เกิ ดป ญหาสิ่ งแวดล อมอย างแท จริ ง ข อมูลในบทนี้ ประกอบด วย การคาดการณ การปล อยก าซชนิ ดต าง ๆ คุณภาพอากาศตามสถานี ตรวจวัดต าง ๆ ทั่วประเทศ ระดับเสี ยงเฉลี่ ยตามสถานี ตรวจวัดต าง ๆ ทั่วประเทศ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==