รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัด : 10 ตัว 14.1.1 14.2.1 ( ก ) ดัชนีของปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชั่น (Eutrophication) และ ( ข ) ความหนาแน่นของขยะพลาสติกในทะเล จำ นวนประเทศที่ใช้แนวทางเชิงระบบนิเวศในการบริหารจัดการ พื้นที่ทางทะเล ค่าความเป็นกรดในทะเลเฉลี่ย (pH) โดยวัดจากสถานีสุ่มตัวอย่าง 14.3.1 สัดส่วนของมวลสัตว์น้ำ (fish stocks) ที่อยู่ในระดับความยั่งยืน ทางชีวภาพ 14.4.1 ขอบเขตของพื้นที่คุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ทางทะเล 14.5.1 ความก้าวหน้าของประเทศต่าง ๆ ในการใช้เครื่องมือ / กลไก ระหว่างประเทศ เพื่อต่อสู้กับการประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม 14.6.1 14.7.1 ร้อยละของผลผลิตจากการประมงที่ยั่งยืน ต่อ GDP ในรัฐ กำ ลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก ประเทศกลุ่มพัฒนาน้อยที่สุด และทุกประเทศ สัดส่วนการจัดสรรงบประมาณเพื่อวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางทะเล ต่องบประมาณการวิจัยทั้งหมด 14.a.1 14.b.1 14.c.1 ความก้าวหน้าของแต่ละประเทศที่มีการใช้และดำ เนินการด้านข้อ กฎหมาย / ข้อบังคับ / นโยบาย / กรอบการปฏิบัติงานของหน่วย งานที่ตระหนักและปกป้องสิทธิของการทำ ประมงขนาดเล็ก จำ นวนประเทศที่มีความก้าวหน้าในการให้สัตยาบัน ยอมรับ และนำ กรอบการทำ งานเชิงกฎหมาย / นโยบาย / สถาบัน และเครื่องมือในการ แปลงกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับมหาสมุทรมาใช้ ดังที่สะท้อน อยู่ใน UNCLOS เพื่อการอนุรักษ์ และการใช้มหาสมุทรและทรัพยากร อย่างยั่งยืน 122 รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ . ศ . 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==