รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ.ศ. 2566

สอดคล้องกับ กฎหมายระหว่างประเทศ ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพพิธีสารนาโงยาว่าด้วย การเข้าถึง ทรัพยากรพันธุกรรมและการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างยุติธรรมและเท่าเทียมพิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความ ปลอดภัยทางชีวภาพและสอดคล้องกับ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความหลาก หลายทางชีวภาพของประเทศไทย 15.6.1 : G T i e r I number of threatened species in each major taxonomic group: Southeast Asia (2022) 15.7.1 : P T i e r I I Thailand 783 Brunei Darussalam 349 Cambodia 334 Indonesia 1,333 Laos PDR. 284 Malaysia 2,071 Myanmar 439 Philippines 1,595 Singapore 362 Timor-Leste 58 Viet Nam 901 133 ( ร่าง ) พระราชบัญญัติความหลากหลายทางชีวภาพ พ . ศ .... ใช้เป็นกลไกในการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ การอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์และการแบ่งปันผลประโยชน์จาก ทรัพยากรชีวภาพ และความปลอดภัยทางชีวภาพ แผนปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำ หนดให้มีกฎหมายด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ( ร่าง ) พระราช บัญญัติ แผน ปฏิรูป ประเทศ ความ สอดคล้อง กับ กฎหมาย จำ นวนประเทศที่มีการยอมรับกรอบกฎหมาย กรอบการบริหารจัดการ และกรอบนโยบายเพื่อ สร้างความมั่นใจในความเป็นธรรม และความ เท่าเทียมในการแบ่งปันผลประโยชน์ ที่มา : สำ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สัดส่วนของการค้าสัตว์ป่าและพืชป่าที่ถูกล่าหรือ ถูกขนย้ายอย่างผิดกฎหมาย * ที่มา : IUCN Red List Index Report (Last updated: 21 July 2022) รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ . ศ . 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==