รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ.ศ. 2566
26 2.1.1 ตัวชี้วัด : 14 ตัว ความชุกของภาวะขาดสารอาหาร ( ร้อยละ ) ความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารของประชากรในระดับปาน กลางหรือรุนแรง โดยใช้ Food Insecurity Experience Scale (FIES) 2.1.2 2.2.1 ความชุกของภาวะเตี้ยในเด็กอายุต่ำ กว่า 5 ปี ( ประเมินส่วนสูงตาม เกณฑ์อายุที่มีส่วนสูงห่างจากค่ามัธยฐานตามมาตรฐานการเจริญ เติบโตของเด็กขององค์กรอนามัยโลก (WHO) ในช่วงน้อยกว่า -2 SD) 2.2.2 ความชุกของภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุต่ำ กว่า 5 ปี จำ แนกตาม ( ก ) ภาวะผอม (wasting) ( ข ) ภาวะน้ำ หนักเกิน (overweight) ( ประเมินน้ำ หนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ที่มีน้ำ หนักเมื่อเทียบกับความ สูงห่างจากค่ามัธยฐานตามมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กของ WHO ในช่วงมากกว่า +2 SD หรือต่ำ กว่า -2 SD) ความชุกของภาวะโลหิตจาง (anaemia) ในหญิงอายุระหว่าง 15 – 49 ปี จำ แนกตามภาวะตั้งครรภ์ 2.2.3 2.3.1 มูลค่าการผลิตต่อหน่วยแรงงาน จำ แนกตามขนาดกิจการของ การทำ ฟาร์ม / เลี้ยงสัตว์ / การป่าไม้ 2.3.2 รายได้เฉลี่ยของเกษตรกรผู้ผลิตอาหารรายย่อย จำ แนกตามเพศ และสถานะพื้นเมือง ( เพื่อแยก ชนพื้นเมือง หรือ ชนเผ่า ) 2.4.1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรที่มีการทำ การเกษตรอย่างมีผลิตภาพและยั่งยืน 2.5.1 จำ นวนแหล่งพันธุกรรมพืชและสัตว์เพื่ออาหารและการเกษตรที่เก็บ รักษาในสถานที่สำ หรับอนุรักษ์ทั้งในระยะกลางและระยะยาว 2.5.2 สัดส่วนพันธุ์สัตว์ท้องถิ่นที่จัดอยู่ในระดับความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ . ศ . 2566
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==