รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัด : 12 ตัว 4.1.1 4.1.2 4.2.1 4.2.2 4.3.1 4.4.1 สัดส่วนของเด็ก / เยาวชนใน ( ก ) ระดับชั้น ป .2 หรือ ป .3 ( ข ) ป .6 และ ( ค ) ม .3 ที่มีความสามารถตามเกณฑ์ขั้นต่ำ เป็นอย่างน้อย ใน (1) ด้านการอ่าน และ (2) ด้านคณิตศาสตร์ หรือการคิดคำ นวณ จำ แนกตาม เพศ อัตราการสำ เร็จการศึกษา ( ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ) อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย ( อย่างน้อย 1 ปี ก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้า เรียนประถมศึกษา ) จำ แนกตามเพศ อัตราการเข้าเรียนของเยาวชนและผู้ใหญ่ ทั้งในระบบ นอกระบบ การศึกษา รวมทั้งการฝึกอบรมในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา จำ แนก ตามเพศ สัดส่วนของเยาวชน / ผู้ใหญ่ที่มีทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร จำ แนกตามประเภททักษะ ดัชนีความเท่าเทียมกัน ( ผู้หญิง - ผู้ชาย / ในเขต - นอกเขตเมือง / ความ มั่งคั่งสูง - ต่ำ และอื่นๆ เช่น สถานะความพิการ คนพื้นเมือง และคนที่ ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งหากมีข้อมูล ) สำ หรับทุกตัวชี้วัดที่ใน รายการนี้ที่สามารถแยกได้ 4.5.1 4.6.1 ระดับการดำ เนินการเพื่อบรรจุ (i) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง โลก และ (ii) การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นเรื่องหลัก ใน ( ก ) นโยบายการศึกษาของประเทศ ( ข ) หลักสูตร ( ค ) การศึกษา ของครู และ ( ง ) การประเมินผลนักเรียน 4.7.1 สัดส่วนของประชากรในกลุ่มอายุที่กำ หนดมีความรู้ความสามารถ สำ หรับการทำ งานในด้าน ก ) การอ่านออกเขียนได้ ข ) ทักษะในการ คำ นวณจำ แนกตามเพศ ร้อยละของเด็กอายุ 36-59 เดือน ซึ่งมีพัฒนาการอย่างน้อย 3 ใน 4 ด้านเป็นไปตามเกณฑ์ ( พัฒนาการ 4 ด้าน คือ ด้านการอ่านออกและ การรู้จักตัวเลข ด้านกายภาพด้านสังคมและอารมณ์ และด้านการ เรียนรู้ ) 48 รายงานสถานะตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย พ . ศ . 2566

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==