Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

99 เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าประสงค์ 4.1: สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียม โดยไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียนที่มีประสิทธิผล ภายในปี พ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 4.1.1: สัดส่วนของเด็ก/เยาวชนใน: (ก) ระดับชั้น ป.2 หรือ ป.3 (ข) ป.6 และ (ค) ม.3 ที่มีความสามารถ ตามเกณฑ์ขั้นต ่ าเป็นอย่างน้อย ใน (1) ด้านการอ่าน และ (2) ด้านคณิตศาสตร์ หรือการคิดคานวณ จาแนก ตาม เพศ ที่มาของข้อมูลในส่วนนี้ครอบคลุมส่วน ( ข ) และ ( ค) ของตัวชี้วัด 4.1.1: สัดส่วนของเด็กและคนหนุ่มสาว ( ข) ที่สาเร็จ การศึกษาชั้นประถมศึกษา และ ( ค ) ที่สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งมีความสามารถใน (1) การอ่าน และ (2) คณิตศาสตร์ อย่างน้อยในขั้นพื้นฐานที่สุด และ จาแนกตามเพศ ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: สถาบันสถิติแห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ( UNESCO Institute for Statistics (UNESCO-UIS) แนวคิดและนิยาม นิยาม: ร้อยละของเด็กและคนหนุ่มสาวที่ศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หรือ 3 สาเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาและชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นซึ่งมีความสามารถใน ( a) การอ่าน และ ( b) คณิตศาสตร์ ระดับความสามารถขั้นพื้นฐานที่สุดจะถูก วัดโดยเปรียบเทียบกับระดับความสามารถในการอ่านและความสามารถทางคณิตศาสตร์แบบใหม่ ซึ่งกาลังพัฒนาอยู่ใน ขณะนี้ หลักการและเหตุผล: ตัวชี้วัดเป็นการวัดค่าโดยตรงของผลสัมฤทธิ์ความสาเร็จทางการศึกษา ใน 2 วิชาสาคัญเมื่อจบการศึกษาในระดับต่าง ๆ ทั้งนี้การวัดค่าทั้งสามประเด็นต่างก็มีมาตรฐานขั้นต ่ าเป็นการเฉพาะ และมีเพียงเกณฑ์เดียวเท่านั้นที่แบ่งนักเรียนให้อยู่ สูงหรือต ่ ากว่าขั้นพื้นฐาน (a) ระดับต ่ ากว่าขั้นพื้นฐาน หมายถึง สัดส่วนหรือร้อยละของนักเรียนที่ไม่ผ่านมาตรฐานขั้นต ่ าที่กาหนดไว้ใน แต่ละประเทศ ตามเกณฑ์ความสามารถขั้นต ่ าที่กาหนดไว้เป็นสากล (b) ระดับสูงกว่าขั้นพื้นฐาน หมายถึง สัดส่วนหรือร้อยละของนักเรียนที่ผ่านมาตรฐานขั้นต ่ า เนื่องจากระดับ การประเมินที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศและระหว่างประเทศ จึงทาให้ต้องมีการจัดทาเกณฑ์ ความสามารถขั้นต ่ าที่กาหนดไว้เป็นสากลขึ้น ซึ่งเมื่อจัดทาเรียบร้อยแล้ว ชุมชนการศึกษาในระดับโลกจะ สามารถนาไปใช้ในประเทศต่าง ๆ เพื่อระบุสัดส่วนหรือร้อยละของเด็กที่ผ่านมาตรฐานขั้นต ่ าได้ แนวคิด: ความสามารถขั้นพื้นฐานที่สุดนี้ถือเป็นเกณฑ์มาตรฐานของความรู้ขั้นพื้นฐานในขอบเขตความรู้ (คณิตศาสตร์และการ อ่าน) ที่ใช้วัดกันตามการประเมินการเรียนรู้ เช่น การทดสอบการอ่านสาหรับโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==