Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

100 นานาชาติ ( the Programme for International Student Assessment: PISA) จะมี 6 ระดับความสามารถ ซึ่งกาหนดให้ ระดับที่ 2 เป็นระดับความสามารถขั้นพื้นฐาน ขณะที่โครงการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ ( TIMSS) และการศึกษาความคืบหน้าในระหว่างการอ่านและการเรียนรู้ระหว่างประเทศ ( PIRLS) จะมี 4 ระดับความสามารถ ต ่ า กลาง สูง และยอดเยี่ยม นักเรียนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับกลาง จะสามารถประยุกต์ความรู้ ขั้นพื้นฐานในหลากหลายสถานการณ์ เช่นเดียวกับความสามารถขั้นพื้นฐานที่สุด ในปัจจุบัน ยังไม่มีมาตรฐานใดที่ได้รับ การตรวจสอบโดยชุมชนนานาชาติหรือประเทศร่วมกัน ตัวชี้วัดแสดงข้อมูลที่เผยแพร่โดยหน่วยงานและองค์กรเฉพาะ ทางด้านการประเมินการเรียนรู้ระหว่างประเทศ ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: ขณะที่มีการประเมินระดับประเทศจานวนมาก ณ เวลานี้ ทว่าแต่ละประเทศต่างก็มีมาตรฐานของระดับความสามารถที่ เป็นของตนเองและอาจจะไม่สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ ทางเลือกหนึ่งคือ การเชื่อมโยงกับการประเมินระดับ ภูมิภาคที่อยู่บนฐานของกรอบการทางานร่วมกัน นอกจากนี้ การประเมินควรได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นแบบ แผนภายในระบบโรงเรียน ตัวชี้วัดปัจจุบันครอบคลุมเพื่อตัวชี้วัดที่มีอยู่ในโรงเรียนและสัดส่วนของกลุ่มประชากร เป้าหมายที่ศึกษาในโรงเรียนอาจจะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เนื่องจากแต่ละประเทศต่างก็มีจานวนเด็กที่ไม่ได้รับ การศึกษาที่ไม่เท่ากัน การสารวจรายครัวเรือนอาจจะมีความจาเป็นเพื่อประเมินความสามารถของเด็กและคนวัยหนุ่ม สาวที่ไม่อยู่ในระบบโรงเรียน ทั้งนี้ต้องตระหนักว่า การประเมินเด็กในครัวเรือนอาจจะยากและมีค่าใช้จ่ายในการบริหาร จัดการสูง และอาจจะใช้เวลาประมาณ 3-5 ปีในการเข้าถึงกลุ่มประชากรตามขนาดที่ต้องการ ในท้ายที่สุด การคานวณ ตัวชี้วัดนี้ต้องการข้อมูลเฉพาะด้านเกี่ยวกับอายุของเด็กที่เข้าร่วมการประเมินเพื่อสร้างข้อมูลที่สามารถนามา เปรียบเทียบกันได้ในระดับโลก อายุของเด็กที่ถูกรายงานโดยหัวหน้าครอบครัวก็อาจจะคลาดเคลื่อนและไม่น่าเ ชื่อถือ ซึ่งจะทาให้การคานวณตัวชี้วัดยากขึ้นกว่าเดิม ทาง UIS ได้ใช้วิธีสเตปปิงสโตน ( Stepping Stone Approach) เพราะ การประเมินเด็กที่ไม่ได้รับการศึกษานั้นมีความซับซ้อนและมีเป้าหมายหลักอยู่ที่การพัฒนาระบบการศึกษา วิธีการนี้จะ ให้ความสาคัญกับการประเมินเด็กในโรงเรียนในระยะกลาง ซึ่งจะมีข้อมูลที่หาได้มากกว่า จากนั้นจึงสามารถพัฒนา แผนการดาเนินงานเพื่อประเมินเด็กที่ไม่อยู่ในระบบโรงเรียนในระยะยาวได้สอดคล้องกันมากขึ้น ระเบียบวิธี วิธีการคานวณ: ตัวชี้วัดจะได้รับการคานวณเป็นจานวนร้อยละของเด็กและ/หรือคนหนุ่มสาวถึงระดับความสามารถทางการศึกษาที่ผ่าน เกณฑ์ความสามารถขั้นต ่ าหรือสูงกว่าเกณฑ์ในวิชาที่กาหนด ความสามารถระดับที่สูงกว่าขั้นพื้นฐาน แทนด้วย PLtn s สูงกว่าขั้นพื้นฐาน = p โดยให้ p แทนจานวนร้อยละของนักเรียนในการประเมินการเรียนที่การศึกษาระดับต่าง ๆ n แทนรายวิชา s แทน จานวนปี ( t-i) ที่ให้ค่าเป็น 0 ? i ? 5 และให้ Smin แทนนักเรียนที่มีระดับความสามารถที่สูงกว่าระดับความสามารถขั้น ต ่ าที่กาหนดไว้ มาตรฐานขั้นต ่ าสุดถูกกาหนดโดยชุมชนการศึกษาระดับโลกที่ผ่านการพิจารณาความแตกต่างในระดับ ภูมิภาคแล้ว

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==