Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

102 เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าประสงค์ 4.2: สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัด การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัย ที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็กเหล่านั้นมีความพร้อมสาหรับ การศึกษาระดับประถมศึกษา ภายในปีพ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 4.2.1: สัดส่วนของเด็กอายุต ่ ากว่า 5 ปี ที่มีพัฒนาการทางด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และพัฒนาการทาง บุคลิกภาพตามวัย จาแนกตามเพศ ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ( United Nations Children’s Fund: UNICEF) แนวคิดและนิยาม นิยาม: สัดส่วนของเด็กที่มีอายุต ่ ากว่า 5 ปีที่ได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัยจะ วัดจากร้อยละของเด็กอายุ 36-59 เดือน ซึ่งมีพัฒนาการอย่างน้อย 3 ใน 4 ด้านเป็นไปตามเกณฑ์ พัฒนาการ 4 ด้าน คือ ด้านการอ่านออกและการรู้จักตัวเลข ด้านกายภาพ ด้านสังคมและอารมณ์ และด้านการเรียนรู้ หลักการและเหตุผล: การพัฒนาเด็กเล็ก ( Early childhood development: ECD) เป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับความสมบูรณ์ตลอดชีวิต การลงทุนในด้านนี้เป็นการลงทุนที่สาคัญและคุ้มค่า ประเทศสามารถพัฒนาสุขภาพของผู้ใหญ่ การศึกษา และ ความสามารถในการผลิตเพื่อสร้างทุนมนุษย์และสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาเด็กเล็กที่ เท่าเทียมตั้ง เริ่มแรกจึงเป็นตัวชี้วัดที่ดีของการพัฒนาระดับประเทศ ความพยายามในการพัฒนาเด็กเล็กทาให้เกิดการพัฒนาทั้ง มนุษย์ สังคมและเศรษฐกิจทั้งในระดับบุคคลและระดับสังคม แนวคิด: ขอบเขตการพัฒนารวมเอาตัวชี้วัดในปัจจุบันใช้เป็นตัวแทนสาหรับการรายงานตัวชี้วัดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ 4.2.1 มี ดังนี้ • ด้านการอ่าน-คณิตศาสตร์: เด็กที่ได้รับการระบุว่าได้รับการพัฒนาในด้านนี้จะต้องมีความสามารถดังต่อไปนี้: ระบุ ชื่ออย่างน้อย 10 ตัวอักษร อ่านคาศัพท์ที่ง่ายและเป็นที่รู้จักจานวน 4 คา และ/หรือรู้จักชื่อและจดจาตัวเลขจาก 1 ถึง 10 ได้ • ด้านร่างกาย: ถ้าเด็กสามารถหยิบสิ่งของขนาดเล็กด้วยนิ้วมือ 2 นิ้ว เช่น ท่อนไม้หรือก้อนหินที่อยู่บนพื้น และ/หรือ เมื่อเด็กรับรู้ว่าการเล่นบางอย่างเป็นอันตรายโดยที่แม่/ผู้ดูแลเบื้องต้นไม่จาเป็นต้องบอก ให้ถือว่าเด็กคนนั้นได้รับการ พัฒนาด้านร่างกายแล้ว • ด้านอารมณ์สังคม: เด็กจะได้รับการพิจารณาว่าได้รับการพัฒนาด้านอารมณ์สังคมก็ต่อเมื่อมีความสามารถ 2 ประการจากทั้งหมด ดังนี้ เด็กเข้ากับเพื่อนคนอื่นได้ดี เด็กไม่เตะ กัด หรือตีเด็กคนอื่น และเด็กไม่เสียสมาธิโดยง่าย • ด้านการเรียนรู้: ถ้าเด็กสามารถเข้าใจคาสั่งอย่างง่ายให้ทาตามได้อย่างถูกต้อง และ/หรือเมื่อได้รับคาสั่งให้ทาอะไร บางอย่างและสามารถทาสิ่งนั้นได้อย่างเป็นอิสระ ให้ถือว่าเด็กคนนั้นได้รับการพัฒนาด้านการเรียนรู้แล้ว

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==