Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

104 วิธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ: ประเทศต่าง ๆ จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์พัฒนาเด็กจากการสารวจรายครัวเรือน เช่น องค์การทุนเพื่อเด็ก แห่งสหประชาชาติสนับสนุนการสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม (MICS) หรือ การสารวจสุขภาพและประชากร (DHS) นอกจากนี้ยังมีการเก็บรวบรวมข้อมูลบางประการ เช่น ดัชนีการพัฒนาเด็กเล็ก (ECDI) ผ่านเครื่องมืออื่น ๆ (เช่น การ สารวจอื่น ๆ หรือการบันทึกจากฝ่ายบริหาร) ในประเทศที่มีรายได้สูงด้วย การรับประกันคุณภาพ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติรักษาฐานข้อมูลระดับโลกที่เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กเล็กที่ใช้สาหรับเป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืนและรายงานที่เป็นทางการอื่น ๆ ทั้งนี้ก่อนที่จะมีการรวบรวมข้อมูลใด ๆ ไว้ในฐานข้อมูลนั้น จะต้อง ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่สานักงานใหญ่ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติเพื่อความ ถูกต้องตรงกันและคุณภาพของข้อมูลทั้งหมด การตรวจสอบนี้จะเป็นไปตามเกณฑ์กาหนดของวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง หลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวที่จะนาไปไว้ในฐานข้อมูลนั้นมีความทันสมัยและเชื่อถือได้ อาทิ แหล่งข้อมูลจะต้องมีการ จัดทาอย่างเหมาะสม ค่าของข้อมูลจะต้องสามารถเป็นตัวแทนของประชากรในระดับประเทศได้ ข้อมูลผ่านการเก็บ รวบรวมด้วยระเบียบวิธีที่เหมาะสม (เช่น การสุ่มตัวอย่าง) ค่าของข้อมูลที่ได้จะต้องมาจากกลุ่มตัวอย่างที่มากเพียงพอ ข้อมูลมีความเข้ากันได้กับนิยามตัวชี้วัดที่เป็นมาตรฐานรวมถึงกลุ่มอายุ และแนวคิด ตามขอบเขตที่เป็นไปได้ ข้อมูลมี ความเหมาะสมตามแนวโน้มและมีความสอดคล้องกับการประมาณการที่เผยแพร่/รายงานตามตัวชี้วัดก่อนหน้านี้ เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จัดการหารือประจาปีร่วมกับเจ้าหน้าที่รัฐเกี่ยวกับตัวชี้วัด การพัฒนาอย่างยั่งยืนที่เกี่ยวข้องกับเด็กทั้ง 10 ตัวชี้วัดในบทบาทการคุ้มครองทั้งแบบเดี่ยวและแบบร่วม ร่วมกับกฎ กติกาในระดับโลก และบรรทัดฐานพันธกรณีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กภายในปีพ.ศ. 2573 ซึ่งรวมถึงตัวชี้วัด 4.2.1 เค้า โครงรายละเอียดกระบวนการหารือระดับประเทศอยู่ด้านล่างของเอกสาร แหล่งข้อมูล คาอธิบาย: การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่มที่สนับสนุนโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้ ทาการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดนี้ (ผ่านดัชนีการพัฒนาเด็กเล็กหรือ ECDI) ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ระดับต ่ าและ ระดับกลาง ตั้งแต่ประมาณปีพ.ศ. 2553 อีกทั้งยังมีข้อมูลเดี่ยวอีกหลายรายการที่มาจากกลไกอื่น ๆ ในประเทศที่มี รายได้สูง ( OECD) ถูกรวมไว้ในดัชนีนี้ด้วย กระบวนการเก็บข้อมูล: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจัดกระบวนการหารืออย่างกว้างขวางเพื่อรวบรวมและประเมินผลข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลระดับประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกให้ทันสมัยกับสถานการณ์ของเด็ก จนกระทั่งปี พ.ศ.2560 กลไกที่องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติใช้สาหรับประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ ระดับประเทศเพื่อสร้างหลักประกันในคุณภาพของข้อมูลและความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากลตาม ตัวชี้วัดหลักที่เกี่ยวข้องกับเด็กดังที่อยู่ในการรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชี้วัดตามเป้าหมาย ( CRING) เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ( UNICEF) ได้จัดกระบวนการหารือในระดับประเทศครั้งใหม่ ขึ้นร่วมกับเจ้าหน้าที่รัฐภายในประเทศเกี่ยวกับตัวชี้วัดการพัฒนาอย่างยั่งยืนระดับโลกในประเด็นด้านเด็กในฐานะที่เป็น

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==