Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

106 เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าประสงค์ 4.2: สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัด การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัย ที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็กเหล่านั้นมีความพร้อมสาหรับ การศึกษาระดับประถมศึกษา ภายในปีพ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 4.2.2: อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย ( 1 ปีก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียนประถมศึกษา) จาแนกตามเพศ ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: สถาบันสถิติแห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ( UNESCO Institute for Statistics: UNESCO-UIS) แนวคิดและนิยาม นิยาม อัตราการเข้าเรียนระดับปฐมวัยที่จัดขึ้น ( 1 ปีก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียนประถมศึกษา) จาแนกตามเพศ ได้รับการนิยาม เป็นค่าร้อยละของเด็กซึ่งเข้าร่วมในโครงการการศึกษาตามช่วงอายุที่กาหนด โดยเป็นการเข้าร่วมในโครงการการศึกษา ปฐมวัยหนึ่งโครงการหรือมากกว่า ตลอดจนโครงการที่เป็นทั้งการเรียนรู้และการดูแลเด็กในโครงการเดียวกัน การมี ส่วนร่วมนี้หมายถึงการศึกษาสาหรับเด็กเล็กและการศึกษาระดับประถมศึกษา ซึ่งมีช่วงอายุที่แตกต่างกันไปตาม กาหนดการรับเข้าศึกษาระดับประถมศึกษาในแต่ละประเทศ หลักการและเหตุผล: ตัวชี้วัดวัดจากการเข้ารับกิจกรรมการศึกษาปฐมวัยในช่วงหนึ่งปีก่อนที่จะเข้าเรียนชั้นประถมศึกษา ค่าตัวชี้วัดยิ่งสูง ยิ่ง แสดงถึงการเข้าศึกษาปฐมวัยก่อนจะเริ่มต้นเข้าเรียนขั้นประถมศึกษาตามเกณฑ์ในอัตราที่สูงเช่นกัน แนวคิด: โครงการการศึกษาปฐมวัยประกอบด้วยชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกัน ซึ่งผ่านการออกแบบมาด้วยความ ตั้งใจที่จะเห็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับก่อนปฐมวัย หรือประสบความสาเร็จในชุดการเรียนรู้เฉพาะด้าน โครงการการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษาเป็นตัวอย่างหนึ่งของโครงการการศึกษาปฐมวัย การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษาได้รับการนิยามไว้ในกลุ่มสาขาวิชาและอาชีพจาแนกตามระบบฉบับ ปี พ.ศ. 2554 (ISCED 2011) การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษามักจะได้รับการออกแบบด้วยวิธีการแบบองค์รวมเพื่อ สนับสนุนการพัฒนาเด็กทั้งด้านความรู้ ร่างกาย สังคมและอารมณ์ และส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการเรียนการสอนอื่ o นอกเหนือจากที่ได้รับจากครอบครัว การศึกษาระดับประถมศึกษาจัดกิจกรรมด้านการศึกษาและการเรียนรู้ที่ออกแบบ มาเพื่อให้นักเรียนมีทักษะขั้นพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์ ตลอดจนมีพื้นฐานที่มั่นคงสาหรับการ เรียนรู้และทาความเข้าใจองค์ความรู้สาคัญ ๆ และการพัฒนาส่วนบุคคล โดยจะเน้นที่การเรียนรู้ถึงสิ่งที่ซับซ้อนใน ระดับพื้นฐาน ร่วมกับความเชี่ยวชาญเพียงเล็กน้อย (ถ้ามี) อายุตามเกณฑ์เข้าศึกษาระดับประถมศึกษาหมายถึงอายุของเด็กที่ถูกกาหนดให้เริ่มต้นการเรียนในระดับประถมศึกษา ตามกฎหมายหรือนโยบายของแต่ละประเทศ ในกรณีที่มีการกาหนดอายุไว้มากกว่าหนึ่ง เช่น ในพื้นที่ต่าง ๆ ของ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==