Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

117 ต่อสตรีนี้มีความครอบคลุมแต่ไม่จากัดเฉพาะ ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และจิตใจที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวเท่านั้น [ …]” ดูนิยามเต็มได้ที่: http://www.un.org/documents/ga/res/ 48/ a 48 r 104. htm ความรุนแรงจากคู่สมรสหมายรวมถึงการทาร้ายที่เกิดจากคู่สมรสคนปัจจุบันและในอดีตในบริบทของการแต่งงานหรือ การอยู่กินกันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการในรูปแบบอื่น ๆ นิยามความรุนแรงแต่ละรูปแบบที่ถูกรวมอยู่ในตัวชี้วัดนี้ ได้แก่ 1. ความรุนแรงต่อร่างกาย รวมถึงการกระทาอันมุ่งไปที่การทาร้ายร่างกายของเหยื่อให้เจ็บปวด ซึ่งครอบคลุมแต่ ไม่จากัดเฉพาะการผลัก จับ บิดแขน ดึงผม ตบ เตะ กัด หรือทุบตีด้วยกาปั้น หรือสิ่งของ ความพยายามที่จะ บีบคอหรือทาให้อีกฝ่ายหายใจไม่ออก เผาหรือลวกด้วยน ้ าร้อนอย่างตั้งใจ การทาร้ายหรือจู่โจมด้วยสิ่งที่ ใช้ เป็นอาวุธได้ ปืน หรือมีด 2. ความรุนแรงต่อเพศ หมายถึง พฤติกรรมทางเพศที่รุนแรงและไม่เป็นที่ต้องการอันกระทาต่อบุคคลใดบุคคล หนึ่ง ตลอดจนการมีเพศสัมพันธ์ที่รุนแรง การบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ ความพยายามมีเพศสัมพันธ์หรือการมี เพศสัมพันธ์โดยปราศจากความยินยอม การมีเพศสัมพันธ์กับคนในครอบครัว การล่วงละเมิดทางเพศ เป็นต้น ความรุนแรงต่อเพศที่พบในความสัมพันธ์กับคู่ครอง มักจะหมายถึงการถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ การมี เพศสัมพันธ์จากความกลัวในสิ่งที่คู่สมรสอาจจะทา และ/หรือการถูกบังคับให้กระทาการบางอย่างที่เกี่ยวกับ เพศซึ่งฝ่ายหญิงมองว่าเป็นความน่าอับอายหรือต ่ าช้า 3. ความรุนแรงต่อจิตใจ รวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทาร้ายจิตใจและการควบคุมพฤติกรรม โดย มักจะเกิดขึ้นร่วมกับความรุนแรงต่อร่างกายและเพศโดยคู่สมรสและการกระทาความรุนแรงในตัวเอง สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรุนแรงต่อร่ายกาย เพศและจิตใจต่อสตรี ดูได้จาก คาแนะนาสาหรับการจัดทา สถิติความรุนแรงต่อสตรี – การสารวจเชิงสถิติ (Guidelines for Producing Statistics on Violence against Women- Statistical Surveys (สหประชาชาติ 2014) ข้อคิดเห็นและข้อจากัด : ความเปรียบเทียบกันได้: การมีอยู่ของข้อมูลที่เปรียบเทียบกันได้ยังคงเป็นข้อท้าทายเสมอมา ด้วยเหตุที่ความพยายามในการเก็บข้อมูลจานวน มากล้วนมีระเบียบวิธีที่แตกต่างกัน นิยามความรุนแรงของคู่สมรสหรือคู่ครองก็ไม่เหมือนกัน ตลอดจนรูปแบบความ รุนแรงและการวางเกณฑ์คาถามสารวจที่แตกต่างกัน และยังพบว่ามีการใช้กลุ่มอายุประชากรที่หลากหลายด้วย ความ เต็มใจในการพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์ความรุนแรงและความเข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้องอาจจะแตกต่างกันไปตาม บริบททางวัฒนธรรมด้วย ซึ่งทั้งหมดล้วนแต่ส่งผลต่อระดับความชุกที่ถูกรายงานออกไป ความสม ่ าเสมอของการผลิตข้อมูล: ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2538 มีเพียง 40 ประเทศเท่านั้นที่จัดทาการสารวจความรุนแรงต่อสตรีมากกว่าหนึ่งตัว การได้รับข้อมูล เกี่ยวกับความรุนแรงต่อสตรีเป็นสิ่งที่มีค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลามาก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่มาจากการสารวจเฉพาะ ประเด็น หรือโดยผ่านแบบจาลองที่นาไปใส่ไว้ในการสารวจอื่น ๆ การสารวจสุขภาพและประชากรจะจัดทาทุก 5 ปี หรือ การสารวจเฉพาะอื่น ๆ ถ้ามีการทาซ ้ า ก็จะจัดทาในช่วงเวลาที่เป็นระยะน้อยกว่านี้ การติดตามตัวชี้วัดนี้ร่วมกับบาง ช่วงเวลาอาจจะเป็นข้อท้าทายในกรณีที่ไม่มีการเสริมศักยภาพอย่างยั่งยืนและไม่สามารถหาแหล่งทุนสนับสนุนได้

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==