Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

10 เป้าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ เป้าประสงค์ที่ 1.2: ภายในปี 2573 ลดสัดส่วน ชาย หญิง และเด็ก ในทุกช่วงวัย ที่อยู่ภายใต้ความยากจนในทุก มิติ ตามนิยามของแต่ละประเทศ ให้ลดลงอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 สัดส่วนประชากรที่อยู่ต ่ ากว่าเส้นความยากจนของประเทศ จาแนกตามเพศ และอายุ ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร : ธนาคารโลก ( World Bank: WB) แนวคิดและนิยาม นิยาม อัตราความยากจนระดับประเทศคือร้อยละของประชากรทั้งหมดที่อยู่ต ่ ากว่าเส้นความยากจนของประเทศ อัตราความ ยากจนในชนบทคือร้อยละของประชากรในชนบทที่อยู่ต ่ ากว่าเส้นความยากจนของประเทศ (หรือต ่ ากว่าเส้นความ ยากจนในชนบท ในกรณีที่มีการแยกเส้นความยากจนในชนบทขออกจากเส้นความยากจนประเทศ) อัตราความยากจน ในเมือง คือร้อยละของประชากรในเมืองที่อยู่ใต้เส้นความยากจนระดับชาติ (หรือต ่ ากว่าเส้นความยากจนในเมือง ใน กรณีที่มีการแยกเส้นความยากจนในเมืองออกจากเส้นความยากจนประเทศ) หลักการและเหตุผล การติดตามความยากจนระดับชาติมีความสาคัญสาหรับวาระการพัฒนาของประเทศหนึ่ง ๆ เส้นความยากจนของ ประเทศถูกใช้เพื่อการประมาณการความยากจนที่แม่นยาและสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศนั้น และมิได้เจตนาให้ใช้ในการเปรียบเทียบอัตราความยากจนระหว่างประเทศ แนวคิด การประเมินความยากจนในประเทศหนึ่ง ๆ และวิธีการที่ดีที่สุดในการลดความยากจนโดยอ้างถึงนิยามของประเทศ เรา มักให้ความสาคัญกับเส้นความยากจนที่เหมาะสมกับประเทศนั้น เส้นความยากจนของประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่าง กันในด้านของอานาจซื้อ มักจะมีระดับที่แตกต่างกันตามระดับการพัฒนาของเศรษฐกิจ เช่น ประเทศร ่ ารวยมักจะใช้เส้น ความยากจนที่สะท้อนคุณภาพชีวิตที่สูงกว่าประเทศยากจน สาหรับกรณีภายในประเทศ ค่าครองชีพในเขตเมืองมักสูง กว่าในเขตชนบท บางประเทศอาจมีเส้นความยากจนในเมืองและในชนบทแยกจากกันอันแสดงถึงความแตกต่างของ อานาจซื้อ ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: ค่าประมาณการความยากจนของประเทศถูกคิดคานวณมาจากข้อมูลการสารวจรายครัวเรือน ข้อควรระวังและข้อจากัด โดยธรรมชาติของข้อมูลการสารวจที่มีผลกับการสร้างตัวชี้วัด 1.1.1 นั้นมีผลกับตัวชี้วัดนี้ด้วย เพื่อให้เป็นประโยชน์กับค่าประมาณการความยากจน การสารวจต้องเป็นตัวแทนในระดับประเทศ การสารวจเหล่านั้น ต้องครอบคลุมสารสนเทศที่มากพอที่จะใช้ในการคานวณค่าประมาณการการบริโภครวมหรือรายได้รวมของครัวเรือนที่ ครอบคลุม (รวมถึงการบริโภคหรือรายได้จากการผลิตเองในครัวเรือน) และใช้ในการการสร้างข้อมูลการกระจายของ การบริโภคต่อหัวหรือรายได้ต่อหัวที่มีการถ่วงน ้ าหนักอย่างถูกต้อง

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==