Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

122 จากัดอยู่ที่การบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ในขณะที่ฝ่ายหญิงไม่ต้องการ ตลอดจนความพยายามในการบังคับให้แสดงการ กระทาทางเพศที่ฝ่ายหญิงไม่ต้องการหรือความพยายามในการบังคับให้ฝ่ายหญิงมีเพศสัมพันธ์กับตน สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศต่อสตรี ดูได้จาก คาแนะนาสาหรับการจัดทาสถิติความรุนแรง ต่อสตรี – การสารวจเชิงสถิติ (Guidelines for Producing Statistics on Violence against Women-Statistical Surveys (สหประชาชาติ 2014) ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: ความเปรียบเทียบกันได้: การมีอยู่ของข้อมูลที่เปรียบเทียบกันได้ยังคงเป็นข้อท้าทายเสมอมา ด้วยเหตุที่ความพยายามในการเก็บข้อมูลจานวน มาก ล้วนมีระเบียบวิธีที่แตกต่างกัน นิยามความรุนแรงของคู่สมรสหรือคู่ครองก็ไม่เหมือนกัน ตลอดจนรูปแบบความ รุนแรงและการวางเกณฑ์คาถามสารวจที่แตกต่างกัน และยังพบว่ามีการใช้กลุ่มอายุประชากรที่หลากหลายด้วย ความ เต็มใจในการพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์ความรุนแรงและความเข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้องอาจจะแตกต่างกันไปตาม บริบททางวัฒนธรรมด้วย ซึ่งทั้งหมดล้วนแต่ส่งผลต่อระดับความชุกที่ถูกรายงานออกไป ความพยายามและการลงทุนเป็นสิ่งที่ต้องมีในการพัฒนามาตรฐานที่เห็นพ้องต้องกันในระดับสากลและนิยามความ รุนแรงทางเพศที่กระทาโดยบุคคลอื่นที่มิใช่คู่ครองหรือคู่สมรส เพื่อยกระดับการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศ ความสม ่ าเสมอของการผลิตข้อมูล: ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2536 มีเพียง 40 ประเทศเท่านั้นที่จัดทาการสารวจความรุนแรงต่อสตรีมากกว่าหนึ่งตัว การได้รับข้อมูล เกี่ยวกับความรุนแรงต่อสตรีเป็นสิ่งที่มีค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลามาก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่มาจากการสารวจเฉพาะ ประเด็น หรือโดยผ่านแบบจาลองที่นาไปใส่ไว้ในการสารวจอื่น ๆ อย่างไรก็ตามมิใช่ว่าการสารวจความรุนแรงต่อสตรีจะ เก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงที่กระทาโดยบุคคลอื่นซึ่งมิใช่คู่ครองหรือคู่สมรสเสมอไป การติดตามตัวชี้วัดนี้ร่วมกับ บางช่วงเวลาอาจจะเป็นข้อท้าทายในกรณีที่ไม่มีการเสริมศักยภาพอย่างยั่งยืนและไม่สามารถหาแหล่งทุนสนับสนุนได้ ระเบียบวิธี วิธีการคานวณ: ตัวชี้วัดนี้ต้องการข้อมูลที่จาแนกตามกลุ่มอายุและสถานที่เกิดความรุนแรง ซึ่งยังไม่มีนิยามหรือระเบียบวิธีที่เป็น มาตรฐานที่เห็นพ้องต้องกันในระดับโลกเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลสถานที่ซึ่งเกิดความรุนแรงขึ้น ดังนั้น ข้อมูลดังกล่าวจึง ไม่ถูกนามาใช้ศึกษาเชิงคานวณดังที่แสดงไว้ด้านล่างนี้ จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) ที่เคยได้รับความรุนแรงทางเพศ ที่กระทาโดยบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ คู่ครองหรือคู่สมรสภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) ในประชากร ที่ศึกษา คูณด้วยจานวน 100 การจาแนกข้อมูล: นอกเหนือจากรูปแบบของความรุนแรงและอายุแล้ว ตัวชี้วัดนี้ยังใช้ รายได้หรือความมั่งคั่ง การศึกษา ชาติพันธุ์ (รวมทั้ง สถานภาพทางชาติพันธุ์) ความทุพพลภาพ สถานที่อยู่ทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กับผู้กระทา (รวมทั้งเพศของ ผู้กระทา) และความถี่ของความรุนแรง (ที่เป็นตัวแทนของความรุนแรง) มาเป็นตัวแปรร่วมที่ใช้ในการจาแนกข้อมูลด้วย

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==