Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata
11 การบริโภคคือตัวชี้วัดด้านสวัสดิการสังคมที่ควรเลือกใช้เนื่องด้วยเหตุผลหลายประการ 1 ประการแรก โดยทั่วไปการวัด รายได้ให้ถูกต้องแม่นยานั้นทาได้ยาก ยกตัวอย่างเช่น คนจนที่ทางานในภาคเศรษฐกิจนอกระบบอาจไม่ได้รับหรือ รายงานค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน ; ผู้ประกอบอาชีพอิสระมักจะประสบกับกระแสรายได้ที่ไม่สม ่ าเสมอ ; และผู้คนจานวนมากใน เขตชนบทที่พึ่งพารายได้จากภาคเกษตรที่มีรูปแบบเฉพาะ ประการที่สอง การบริโภคไปด้วยกันได้ดีกว่ากับแนวคิด เรื่องมาตรฐานการครองชีพมากกว่ารายได้ แม้ว่ารายได้มักจะแปรผันตามช่วงเวลาแต่มาตรฐานการครองชีพที่แท้จริง อาจจะไม่เปลี่ยนแปลงเลยก็ได้ ดังนั้น ตัวชี้วัดด้านสวัสดิการที่ใช้การบริโภคเป็นฐานจะถูกใช้ในการประมาณการมาตร วัดความยากจนในรายงานนี้เท่าที่เป็นไปได้ แต่ข้อมูลการบริโภคไม่ได้สามารถหาได้เสมอไป ยกตัวอย่างกลุ่มประเทศ แถบละตินอเมริกาและแคริบเบียน ประเทศส่วนใหญ่เก็บข้อมูลรายได้เป็นหลัก ในกรณีเหล่านั้นทางเลือกมีไม่มากนัก และทาให้ต้องใช้ข้อมูลรายได้ การบริโภคถูกวัดโดยใช้คาถามในการสารวจรายครัวเรือนเกี่ยวกับรายจ่ายด้านอาหารและที่ไม่ใช่อาหาร เช่นเดียวกับ การบริโภคอาหารที่ครัวเรือนผลิตเองซึ่งมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุด สารสนเทศเหล่านี้ถูก เก็บโดยคาถามเพื่อให้ราลึกความหลังโดยอาศัยบัญชีของสินค้าบริโภค หรือไม่ก็โดยการเขียนบันทึกประจาวันที่ผู้ให้ ข้อมูลจะต้องบันทึกรายจ่ายทั้งหมดทุก ๆ วัน แต่วิธีการเหล่านี้มิได้ให้ข้อมูลที่เทียบเคียงกันได้เสมอไปและการบริโภค อาจจะถูกประมาณค่าต ่ าเกินไปหรือสูงเกินไปขึ้นอยู่กับแนวทางที่ใช้ การสารวจที่แตกต่างกันจะใช้ช่วงเวลาในการราลึก ความหลังหรือช่วงเวลาอ้างอิงที่แตกต่างกัน ยิ่งช่วงเวลาอ้างอิงยาวนานเท่าใด ผู้ให้ข้อมูลย่อมมีโอกาสที่จะไม่สามารถ ราลึกความหลังเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายบางอย่างได้มากขึ้น โดยเฉพาะประเภทอาหารที่บริโภค ดังนั้นจึงนาไปสู่การประมาณ ค่าใช้จ่ายที่แท้จริงต ่ าเกินไป การสารวจที่มีแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดมีการจัดทาบัญชีโดยละเอียดเกี่ยวกับสินค้าบริโภคจาเพาะ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเหล่านี้ ที่ถูกเก็บโดยแบบสอบถามจะถูกนามาคานวณรวมในภายหลัง แต่การสารวจหลายการสารวจใช้แบบสอบถามที่ขอให้ให้ ข้อมูลรายงานรายจ่ายสาหรับประเภทสินค้าบริการอย่างกว้าง หากพูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ สินค้าบริโภคที่มีความจาเพาะ เจาะจงนั้นถูกคานวณรวมไปแล้วโดยนัยด้วยการออกแบบแบบสอบถาม วิธีการนี้ทาให้เวลาการสัมภาษณ์สั้นลงและลด ต้นทุนของการทาสารวจ แบบสอบถามที่สั้นลงยังเชื่อว่าจะทาให้ลดโอกาสที่จะเกิดความเหนื่อยล้าทั้งในผู้ให้ข้อมูลและ ผู้สัมภาษณ์อันจะนาไปสู่ความผิดพลาดในการรายงานได้ อย่างไรก็ดี มีหลักฐานเช่นกันว่าการครอบคลุมรายละเอียดที่ น้อยลงเกี่ยวกับสินค้าจาเพาะบางรายการในแบบสอบถามอาจนาไปสู่การประมาณการการบริโภคครัวเรือนแท้จริง ที่ต ่ า เกินจริง การใช้แบบสอบถามเดิมอีกครั้งหนึ่งอาจทาให้สินค้าบริโภคใหม่ ๆ ถูกละเว้นไปซึ่งนาไปสู่การรายงานที่ต ่ ากว่า ความเป็นจริงได้ สิ่งที่เกิดขึ้นเสมอคือ ครัวเรือนที่ถูกสุ่มตัวอย่างบางครัวเรือนไม่ร่วมในการสารวจเพราะพวกเขาปฏิเสธหรือไม่ก็เพราะว่า ไม่มีใครอยู่ที่บ้าน กรณีนี้มักจะถูกกล่าวถึงว่าเป็น “ หน่วยที่ไม่มีการตอบสนอง ” (unit nonresponse) ซึ่งแตกต่างจาก “ รายการที่ไม่มีการตอบสนอง ” (item nonresponse) ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อผู้ให้ข้อมูลที่ถูกสุ่มบางคนมีส่วนร่วมกับการสารวจแต่ ปฏิเสธอที่จะตอบคาถามบางคาถาม เช่น คาถามที่เกี่ยวกับการบริโภคหรือรายได้ ตราบเท่าที่เกิดขึ้นของหน่วยที่ไม่มี การตอบสนองในการสารวจนั้นเป็นแบบสุ่ม ก็ไม่มีความกังวลเกี่ยวกับอคติที่อาจเกิดขึ้นในการอนุมานที่อยู่บนฐานของ การสารวจ กลุ่มตัวอย่างจะยังคงเป็นตัวแทนของประชากรดังเดิม อย่างไรก็ดี ครัวเรือนที่มีรายได้แตกต่างกันอาจมี โอกาสที่ไม่เท่ากันในการตอบแบบสารวจ โดยเปรียบเทียบครัวเรือนที่ร ่ ารวยอาจมีโอกาสร่วมกับการสารวจน้อยกว่า เนื่องด้วยต้นทุนค่าเสียโอกาสด้านเวลาที่สูงหรือเพราะความกังวลเกี่ยวกับการล่วงล ้ าเรื่องส่วนบุคคล ในทานองเดียวกัน 1 สาหรับการถกเถียงเกี่ยวกับเหตุผลที่การบริโภคจึงเป็นที่พึงประสงค์ โปรดดู : Deaton, Angus (2003). “Household Surveys, Consumption, and the Measurement of Poverty”. Economic System Research, Vol. 15 No. 2, June 2003
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==