Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

130 เป้าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน ้ าและสุขอนามัยสาหรับทุกคนและมีการบริหารจัดการที่ ยั่งยืน เป้าประสงค์ 6.1: บรรลุเป้าหมายการให้ทุกคนเข้าถึงน ้ าดื่มที่ปลอดภัยและมีราคาที่สามารถซื้อหาได้ ภายในปี. พ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 6.1.1: สัดส่วนของประชากรที่ใช้บริการน ้ าดื่มที่ได้รับการจัดการอย่างปลอดภัย ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization: WHO) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ( United Nations Children’s Fund: UNICEF) แนวคิดและนิยาม นิยาม: ในปัจจุบัน สัดส่วนของประชากรที่ใช้บริการน ้ าดื่มที่ได้รับการจัดการอย่างปลอดภัยวัดจากสัดส่วนของประชากรที่ใช้ แหล่งน ้ าดื่มขั้นพื้นฐานที่ได้รับการพัฒนาแล้ว ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ๆ สามารถหาได้ตามความต้องการและไม่ถูกปนเปื้อน โดยอุจจาระ (และสารเคมีสาคัญ) กล่าวคือ แหล่งน ้ าดื่ม “ ที่ได้รับการพัฒนาแล้ว ” ที่หมายรวมถึง ท่อส่งน ้ าไปยังที่อยู่ อาศัย บ้านเรือนหรือที่ดิน ก๊อกน ้ าสาธารณะหรือระบบท่อยืน หลุมเจาะหรือท่อส่งน ้ าใต้ดิน บ่อบาดาลชนิดบ่อขุดที่ได้รับ การป้องกัน น ้ าพุที่ได้รับการป้องกัน น ้ าดื่มบรรจุขวด น ้ าที่ถูกนาส่งและน ้ าฝน หลักการและเหตุผล: เป้าประสงค์ที่ 7 C ของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ เรียกร้องให้มี “ การเข้าถึงน ้ าดื่มที่ปลอดภัยอย่างยั่งยืน ” ในช่วงเริ่มต้นของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ พบว่า ประเทศกาลังพัฒนาไม่มีข้อมูลระดับประเทศเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของน ้ าดื่มอยู่เลย และข้อมูลดังกล่าวก็ไม่ได้ถูกเก็บรวบรวมผ่านการสารวจรายครัวเรือนหรือสามะโนประชากร ด้วย โครงการติดตามร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือโครงการ JMP ได้ พัฒนาแนวคิด “ แหล่งน ้ าที่ได้รับการพัฒนาแล้ว ” ขึ้น ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นตัวแทนสาหรับ “ น ้ าสะอาด ” โดยแหล่งน ้ า ดังกล่าวมักจะถูกป้องกันจากการปนเปื้อนของอุจจาระ ระบบนี้ถูกนามาใช้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 เพื่อติดตามความก้าวหน้า ตามเป้าประสงค์ของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ การหารือในระดับสากลตั้งแต่ปีพ.ศ. 2554 เห็นพ้องต้องกัน เกี่ยวกับความจาเป็นในการสร้างและแก้ไขจุดอ่อนของตัวชี้วัดนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวางเกณฑ์เกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชนด้านน ้ าที่เป็นบรรทัดฐาน ซึ่งรวมถึง การเข้าถึง การหาได้และคุณภาพ การหารือดังกล่าวลงมติว่า โครงการติดตามร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ควรมีความก้าวหน้ามากกว่าเรื่องระดับการเข้าถึงขั้นพื้นฐานและการบริหารจัดการบริการน ้ าดื่มที่ปลอดภัย โดย ความก้าวหน้านี้รวมถึง มิติของการเข้าถึง การหาได้และคุณภาพน ้ า ตัวชี้วัดเรื่อง “ บริการน ้ าดื่มที่ได้รับการจัดการอย่าง ปลอดภัย ” จึงถูกออกแบบขึ้นเพื่อการนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==