Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

131 แนวคิด: แหล่งน ้ าดื่มที่ได้รับการพัฒนาแล้ว หมายรวมถึง ท่อส่งน ้ าไปยังที่อยู่อาศัย บ้านเรือนหรือที่ดิน ก๊อกน ้ าสาธารณะหรือ ระบบท่อยืน หลุมเจาะหรือท่อส่งน ้ าใต้ดิน บ่อบาดาลชนิดบ่อขุดที่ได้รับการป้องกัน น ้ าพุที่ได้รับการป้องกัน น ้ าดื่มบรรจุ ขวด น ้ าที่ถูกนาส่งและน ้ าฝน การตัดสินว่าแหล่งน ้ าอยู่ใน “ พื้นที่ ” นั้น ในกรณีที่จุดเก็บน ้ าอยู่ภายในที่อยู่อาศัย บ้านเรือนหรือที่ดิน “ สามารถหาได้ตามความต้องการ ”: ครัวเรือนสามารถเข้าถึงน ้ าในปริมาณที่เพียงพอได้ตามต้องการ “ ไม่ถูกปนเปื้อนโดยอุจจาระและสารเคมีสาคัญ ”: น ้ ามีมาตรฐานทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ในกรณีที่ไม่มีการ ร ะ บุถึ ง ม า ต ร ฐ านดั ง กล่ า ว ใ ห้อ้ า ง อิ ง คา แนะ น าขอ ง อ ง ค์ก า ร อน า มัย โ ลกส าหรั บคุณภ าพขอ งน ้ าดื่ม ( http://www.who.int/water_sanitation_health/dwq/guidelines/en/) แบคทีเรียอีโคไล ( E. Coli) หรือ thermotolerant coliforms เป็นตัวชี้วัดที่พึงประสงค์ สาหรับการวัดคุณภาพด้านจุล ชีววิทยา ส่วนสารหนูและฟลูออไรด์เป็นสารเคมีสาคัญสาหรับการรายงานในระดับโลก ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: มีข้อมูลเกี่ยวกับการหาและความปลอดภัยของน ้ าดื่มเพิ่มขึ้นผ่านการผนวกเข้ากับรายงานระดับครัวเรือนและ แหล่งข้อมูลจากฝ่ายบริหารจัดการตลอดจนเจ้าหน้าที่รัฐ ขณะที่ยังไม่มีการกาหนดนิยามในประเด็นนี้ให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ข้อมูลการปนเปื้อนของอุจจาระและสารเคมีที่ดึงออกมาจากการสารวจรายครัวเรือนและฐานข้อมูลด้าน กฎหมาย จะไม่ครอบคลุมทุกประเทศ อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีข้อมูลที่เพียงพอในการประมาณการเกี่ยวกับการบริการน ้ า ดื่มที่ได้รับการจัดการอย่างปลอดภัย ในระดับภูมิภาคและระดับโลกสาหรับ 4 ใน 8 ภูมิภาคตามเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนในปีพ.ศ. 2560 ระเบียบวิธี วิธีการคานวณ: ในปัจจุบัน การสารวจรายครัวเรือนและสามะโนประชากรให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของแหล่งน ้ าดื่มขั้นพื้นฐานดังที่ระบุ ไว้ข้างต้น รวมทั้งระบุด้วยว่าแหล่งน ้ าดังกล่าวตั้งอยู่ในพื้นที่หรือไม่ ข้อมูลเหล่านี้มักจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการเข้าถึง และคุณภาพของน ้ าในระดับครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น โดยผ่านการทดลอบน ้ าดื่มโดยตรงเพื่อตรวจสอบการปนเปื้อนของ อุจจาระหรือสารเคมีอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนามารวมกับข้อมูลการหาได้ของน ้ าและการดาเนินการตามมาตรฐาน คุณภาพน ้ าดื่ม (อุจจาระและสารเคมี) จากรายงานจากฝ่ายบริหารจัดการหรือฝ่ายกฎหมาย โครงการติดตามร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติด้านการประปา สุขอนามัย และความสะอาด ( JMP) ประมาณการการเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของแต่ละประเทศ แบ่งออกเป็นเขตเมืองและเขต ชนบท โดยเปรียบเทียบเส้นความถดถอยเข้ากับชุดจุดข้อมูลที่ได้จากการสารวจรายครัวเรือนและสามะโนประชากร วิธีการนี้ถูกนามาใช้ในการรายงานการใช้แหล่งน ้ าที่ “ ได้รับการพัฒนาแล้ว ” ตามการติดตามตามเป้าหมายการพัฒนา แห่งสหัสวรรษ JMP กาลังประเมินการใช้วิธีประมาณการทางสถิติรูปแบบอื่น ๆ เนื่องจากข้อมูลที่หาได้เริ่มมีมากขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==