Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

134 เป้าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน ้ าและสุขอนามัยสาหรับทุกคนและมีการบริหารจัดการที่ ยั่งยืน เป้าประสงค์ 6.2: บรรลุเป้าหมายการให้ทุกคนเข้าถึงสุขอนามัยที่พอเพียงและเป็นธรรม และยุติการขับถ่ายใน ที่โล่ง โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อความต้องการของผู้หญิง เด็กหญิง และกลุ่มที่อยู่ใต้สถานการณ์ที่ เปราะบาง ภายในปีพ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 6.2.1: สัดส่วนของประชากรที่ใช้บริการสุขอนามัยได้รับการจัดการอย่างปลอดภัย รวมถึงการจัดให้มี สิ่งอานวยความสะดวกในการล้างมือด้วยสบู่ และน ้ า ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization: WHO) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ( United Nations Children’s Fund: UNICEF) แนวคิดและนิยาม นิยาม: สัดส่วนของประชากรที่ใช้บริการสุขาภิบาลที่มีการจัดการอย่างปลอดภัยรวมถึงมีสถานที่ล้างมือด้วยสบู่และน ้ า โดยวัด จากสัดส่วนของประชากรที่ใช้สิ่งอานวยความสะดวกด้านการสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานใช้โดยไม่ได้ใช้ร่วมกับครัวเรือนอื่น ๆ และมีการจัดการบาบัดของเสียอย่างปลอดภัยตาม ณ แหล่งกาเนิด หรือบาบัดนอกแหล่งกาหนด สิ่งอานวยความสะดวก ด้านสุขาภิบาลที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว ได้แก่ น ้ าเสียจากห้องน ้ าหรือชักโครกตรงไปยังระบบท่อระบายน ้ า ถังบาบัดน ้ า เสีย หรือส้วมหลุม ส้วมหลุมระบายอากาศที่ปรับปรุงแล้ว ส้วมหลุมที่มีฐานนั่ง และส้วมหมัก ประชากรมีสิ่งอานวยความสะดวกในการล้างมือขั้นพื้นฐาน: มีอุปกรณ์สาหรับเก็บกัก ขนส่งและควบคุมการไหลของน ้ า มาที่จุดล้างมือเพื่อล้างมือด้วยสบู่และน ้ าในครัวเรือน หลักการและเหตุผล: เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ( MDG) มีเป้า 7 C เรียกร้องให้มี “ การเข้าถึงที่ยั่งยืน ” ของ “ สุขาภิบาลขั้นพื้นฐาน ” JMP ได้พัฒนาเกณฑ์การชี้วัดการใช้สิ่งอานวยความสะดวกด้านสุขอนามัยที่ “ ปรับปรุงแล้ว ” ซึ่งมีแนวโน้มที่จะแยกสิ่ง ขับถ่ายของมนุษย์ออกจากการสัมผัสของมนุษย์อย่างถูกสุขลักษณะ และใช้ตัวชี้วัดนี้เพื่อตามรอยความคืบหน้าสู่ เป้าหมาย MDG ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 การหารือกันระหว่างประเทศตั้งแต่ปีพ.ศ. 2554 ได้มีฉันทามติเกี่ยวกับความ ต้องการที่จะสร้างและแก้ไขข้อบกพร่องของตัวชี้วัดนี้ โดยเฉพาะเพื่อระบุเกณฑ์เชิงบรรทัดฐานของสิทธิมนุษยชนในการ เข้าถึงการใช้น ้ า การยอมรับ และความปลอดภัย นอกจากนี้ควรพิจารณาถึงการจัดการของเสียอุจจาระอย่างปลอดภัย เนื่องจากการปล่อยน ้ าเสียที่ไม่ผ่านการบาบัดสู่สิ่งแวดล้อมสร้างอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน การหารือดังกล่าวข้างต้นสรุปว่าเป้าหมายหลังปี พ.ศ. 2558 ซึ่งมีผลบังคับใช้กับทุกประเทศควรจะไปให้ไกลกว่าการ เข้าถึงขั้นพื้นฐานและพูดถึงตัวชี้วัดของการจัดการด้านความปลอดภัยของบริการด้านสุขาภิบาล รวมถึงมิติของการ เข้าถึง การยอมรับ และความปลอดภัย คณะทางานผู้เชี่ยวชาญได้เรียกร้องให้มีการวิเคราะห์การจัดการของเสียอุจจาระ ตามห่วงโซ่สุขาภิบาล รวมถึงการกักเก็บ การขจัดอุจจาระออกจากส้วมหลุมหรือถังเกรอะ และการกาจัดอย่างปลอดภัย ในพื้นที่ หรือการขนส่งและบาบัดของเสียในสถานที่บาบัดที่กาหนด การจาแนกประเภทของการบาบัดจะขึ้นอยู่กับระบบ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==