Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata
12 มันเข้าใจได้ว่ากลุ่มคนที่จนที่สุดอาจจะมีตัวแทนน้อยกว่าที่ควรจะเป็นเช่นกัน บางคนเป็นคนไร้บ้านและเป็นการยากที่ การออกแบบการสารวจรายครัวเรือนแบบมาตรฐานจะเข้าถึงได้ บางคนอาจมีการแยกตัวออกมาทั้งทางกายภาพและ ทางสังคม ทาให้ยากแก่การสัมภาษณ์ หากจานวนของผู้ไม่ตอบการสารวจเพิ่มขึ้นอย่างเป็นระบบอันเนื่องมาจากรายได้ การสารวจมีแนวโน้มที่จะประมาณการความยากจนสูงเกินจริง แต่หากการให้ความร่วมมือมีแนวโน้มต ่ าทั้งในกลุ่มที่จน มากและรวยมาก ก็มีโอกาสที่จะเกิดผลหักล้างกันในข้อมูลความยากจนที่วัดได้ แม้ว่าข้อมูลการสารวจจะมีความแม่นยาและครอบคลุมทั้งหมด มาตรวัดความยากจนที่ได้มาก็อาจจะยังล้มเหลวในการ รวมเอาแง่มุมที่สาคัญของสวัสดิการของปัจเจกชนเข้ามา ยกตัวอย่างเช่น การใช้การวัดการบริโภคครัวเรือนนั้นอาจ มองข้ามความเหลื่อมล ้ าที่เกิดขึ้นได้ภายในครัวเรือน ดังนั้น การวัดความยากจนที่อยู่บนฐานการบริโภคหรือรายได้นั้น ให้ข้อมูลได้ดีแต่ไม่ควรถูกตีความว่าเป็นข้อมูลทางสถิติที่เพียงพอต่อการประเมินคุณภาพชีวิตของผู้คน อัตราความ ยากจนของประเทศ การวัดโดยการ “ นับหัว ” คนยากจน เป็นหนึ่งในมาตรวัดความยากจนที่ถูกคานวณมากที่สุด กระนั้น ก็ยังมีข้อเสียที่มันไม่สามารถตรวจจับความเหลื่อมล ้ าทางรายได้ระหว่างคนจนหรือระดับความลึกของความยากจนได้ ยกตัวอย่างเช่น ไม่สามารถบ่งชี้ความแตกต่างระหว่างคนบางคนที่ใช้ชีวิตต ่ ากว่าเส้นความยากจนเพียงนิดเดียวกับคน อื่นใช้ชีวิตในระดับที่ต ่ ากว่าเส้นความยากจนมาก ดังนั้นผู้กาหนดนโยบายที่ต้องการสร้างผลกระทบที่มากที่สุดที่เป็นไป ได้ต่อการวัดอัตราความยากจนอาจจะสนใจที่จะเบนเข็มการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการลดความยากจนไปยังกลุ่มที่อยู่ต ่ า กว่าเส้นความยากจนเพียงเล็กน้อย (ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยากจนน้อยที่สุด) ปัญหาอีกหลายประการอาจเกิดขึ้นเมื่อทาการเปรียบเทียบมาตรวัดความยากจนภายในประเทศเมื่อเส้นความยากจนใน เมืองกับในชนบทสะท้อนอานาจซื้อที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ค่าครองชีพในเขตเมืองมักจะสูงกว่าในเขตชนบท เหตุผลหนึ่งคืออาหารหลักมีแนวโน้มจะแพงกว่าในเขตเมือง ดังนั้นเส้นความยากจนที่เป็นตัวเงินในเขตเมืองควรจะสูง กว่าเส้นความยากจนในชนบท แต่ความแตกต่างระหว่างเส้นความยากจนของเมืองกับชนบทที่พบในทางปฏิบัตินั้นไม่ จาเป็นต้องสะท้อนความแตกต่างของค่าครองชีพเสมอไป ในบางประเทศเส้นความยากจนในเมืองที่ใช้ทั่วไปมีมูลค่าที่ แท้จริง ( real value) สูงกว่าเส้นความยากจนในชนบท - หมายความว่า มูลค่าดังกล่าวสามารถใช้ซื้อสินค้าบริการ จานวนมากกว่าเพื่อการบริโภค บางครั้งความแตกต่างนั้นใหญ่มากซึ่งเป็นการสื่อโดยนัยว่าเหตุการณ์ความยากจนนั้นมี มากกว่าในเขตเมืองเมื่อเทียบกับเขตชนบท ถึงกระนั้น เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูลในส่วนของความแตกต่างของค่าครอง ชีพจะพบว่าผลลัพธ์ที่แท้จริงจะกลับกัน เช่นเดียวกันกับการเปรียบเทียบระหว่างประเทศ เมื่อมูลค่าแท้จริงของเส้นความ ยากจนนั้นเปลี่ยนแปลงไปนั้น ความหมายที่ได้จากการเปรียบเทียบกันระหว่างการวัดความยากจนในเขตเมืองและ ชนบทจะมีความหมายเพียงใด ประการสุดท้าย ตัวชี้วัดที่อยู่บนฐานของรายได้และการบริโภคเหล่านี้ไม่ได้สะท้อนมิติอื่น ๆ ของความยากจน เช่น ความเหลื่อมล ้ า ความเปราะบาง และการขาดเสียงและพลังของคนยากจน ระเบียบวิธี สูตรสาหรับการคานวณสัดส่วนของจานวนรวม ประชากรทั้งในเขตเมืองและชนบทที่ใช้ชีวิตอยู่ใต้เส้นความยากจนของ ประเทศ หรือดัชนีความยากจน ( headcount index) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 0 = 1 ∑ ( < ) = =1
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==