Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

139 เป้าหมายที่ 7: สร้างหลักประกันให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ที่ยั่งยืนในราคาที่ย่อมเยา เป้าประสงค์ 7.1: สร้างหลักประกันว่ามีการเข้าถึงการบริการพลังงานสมัยใหม่ที่เชื่อถือได้ ในราคาที่สามารถ ซื้อหาได้ ภายในปีพ.ศ. 2573 ตัวชี้วัด 7.1.2: สัดส่วนของประชากรที่พึ่งพาพลังงานและเทคโนโลยีสะอาดเป็นหลัก ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization: WHO) แนวคิดและนิยาม นิยาม: สัดส่วนของประชากรที่พึ่งพาเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาดเป็นหลักคานวณจากจานวนคนที่ใช้เชื้อเพลิงและ เทคโนโลยีสะอาดสาหรับการปรุงอาหาร การให้ความร้อน และการให้แสงสว่าง หารด้วยจานวนประชากรทั้งหมดที่ รายงานว่ามีการประกอบอาหาร ความร้อน หรือการใช้แสงสว่าง โดยแสดงเป็นร้อยละ “ ความสะอาด ” ถูกนิยามโดยใช้ เป้าหมายอัตราการปล่อยก๊าซและคาแนะนาเกี่ยวกับเชื้อเพลิงจาเพาะ (เช่น ไม่ควรใช้ถ่านหินและน ้ ามันก๊าดที่ยังไม่ได้ ผ่านกระบวนการ) ที่รวมอยู่ในแนวปฏิบัติ WHO สาหรับคุณภาพอากาศภายในอาคาร: การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน ครัวเรือน หลักการและเหตุผล: การทาอาหาร การให้แสงสว่างและการให้ความร้อนถือเป็นส่วนแบ่งที่ใหญ่ของการใช้พลังงานในครัวเรือนในประเทศที่มี รายได้ต ่ าและปานกลาง สาหรับการปรุงอาหารและให้ความร้อน ครัวเรือนมักอาศัยเชื้อเพลิงแข็ง (เช่น ไม้ ถ่าน มวล ชีวภาพ) หรือ น ้ ามันก๊าดโดยใช้ร่วมกับกับเทคโนโลยีที่ไม่มีประสิทธิภาพ (เช่น ไฟกลางแจ้ง เตาไฟ อุปกรณ์ทาความ ร้อนในพื้นที่ หรือตะเกียง) เป็นที่ทราบกันดีว่าการพึ่งพาพลังงานที่ไม่มีประสิทธิภาพสาหรับการประกอบอาหาร การให้ ความร้อนและแสงสว่างนั้นเกี่ยวข้องกับการเพิ่มมลพิษทางอากาศในครัวเรือน (ในร่ม) การใช้เชื้อเพลิงที่ไม่มี ประสิทธิภาพในการประกอบอาหารเพียงอย่างเดียวคาดว่าจะทาให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 4 ล้านคนต่อปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ผู้หญิงและเด็ก จานวนนี้มากกว่าการเสียชีวิตจากวัณโรค HIV และมาลาเรียรวมกัน ผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่พึง ประสงค์เหล่านี้ สามารถหลีกเลี่ยงได้โดยการใช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาดสาหรับพลังงานหลักในครัวเรือนทั้งหมด หรือในบางสถานการณ์ เช่นการใช้เตาหุงต้มแบบเผาไหม้ขั้นสูง (เช่น อุปกรณ์ที่บรรลุอัตราการปล่อยก๊าซเป้าหมายที่ กาหนดโดยแนวปฏิบัติของ WHO) และยึดขั้นตอนการใช้งานแบบเคร่งครัดเพื่อการใช้งานอย่างปลอดภัย ด้วย ความสาคัญของการใช้พลังงานในครัวเรือนที่สะอาดและปลอดภัยเป็นประเด็นการพัฒนามนุษย์ การเข้าถึงพลังงานใน ทุกพื้นที่ในความหมายที่ให้โดยชุมชนผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคนั้นหมายถึงการเข้าถึงพลังงานไฟฟ้าและเชื้อเพลิงที่ สะอาดและเทคโนโลยีในการประกอบอาหาร การให้ความร้อน และแสงสว่าง ด้วยเหตุนี้ การประกอบอาหารที่สะอาดจึง เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายว่าด้วยการเข้าถึงสากล ภายใต้ความริเริ่มด้านพลังงานยั่งยืนสาหรับทุกคนของเลขาธิการ สหประชาชาติ ( the UN Secretary General’s Sustainable Energy for All) แนวคิด: การรวบรวมข้อมูลทั่วโลกในปัจจุบันมุ่งเน้นไปที่เชื้อเพลิงหลักที่ใช้ในการประกอบอาหาร โดยแบ่งเป็นเชื้อเพลิงที่เป็น ของแข็งหรือไม่แข็ง ซึ่งเชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งนั้นถือว่าเป็นมลพิษและไม่ทันสมัย ส่วนเชื้อเพลิงที่ไม่อยู่ในรูปของแข็ง ถือว่าเป็นเชื้อเพลิงที่สะอาด มาตรการนี้ใช้วัดการขาดการเข้าถึงเชื้อเพลิงในการประกอบอ าหารที่สะอาดได้ แต่ไม่

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==