Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

140 สามารถรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับการประกอบอาหาร และยังไม่สามารถ วัดการก่อมลพิษรูปแบบอื่น ๆ จากการใช้พลังงานในบ้านได้ เช่น การใช้พลังงานสาหรับให้แสงสว่างและความร้อน คาแนะนาอิงจากหลักฐานใหม่ของ WHO ( เช่น แนวทางจาก WHO สาหรับแนวปฏิบัติด้านคุณภาพอากาศภายใน อาคาร: การเผาไหม้เชื้อเพลิงในครัวเรือน) เน้นความสาคัญของการจัดการทั้งเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีเพื่อการปกป้อง สุขภาพของประชาชนอย่างเหมาะสม แนวทางเหล่านี้ให้คาแนะนาทางเทคนิคในรูปแบบของเป้าหมายการปล่อยก๊าซที่ ใช้พิจารณาว่า การผสมผสานกันของเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีรูปแบบใดในครัวเรือน (เตา โคมไฟ และอื่น ๆ) จะถือว่า สะอาด แนวทางเหล่านี้ยังแนะนาให้ไม่ใช้ถ่านหินที่ยังไม่ผ่านกระบวนการและไม่สนับสนุนการใช้น ้ ามันก๊าด (เชื้อเพลิงที่ ไม่อยู่ในรูปของแข็ง แต่เป็นมลพิษสูง) ในบ้าน และเสนอให้การใช้พลังงานในครัวเรือนที่สาคัญทั้งหมด (เช่น การ ทาอาหาร การให้ความร้อน การให้แสงสว่าง) มาจากการผสมผสานกันของเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่าดีต่อสุขภาพ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ คาแนะนาเชิงเทคนิคตามแนวทางของ WHO เรื่องการเข้าถึงการประกอบอาหารที่ทันสมัยในบ้านจะ ถูกกาหนดเป็น “ การเข้าถึงเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาด ” มากกว่า “ การเข้าถึงเชื้อเพลิงที่ไม่อยู่ในรูปของแข็ง ” การ ยกระดับนี้จะช่วยให้มั่นใจได้ว่าสุขภาพ และผลประโยชน์มิติอื่น ๆ ที่เชื่อมโยงกันจะสามารถนับจานวนได้ดีขึ้นและทาให้ เป็นจริงได้ ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: ตัวชี้วัดนี้ใช้ประเภทของเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีหลักที่ใช้สาหรับการปรุงอาหาร การให้ความร้อน และให้แสงสว่าง เป็น ปัจจัยตัวแทนในทางปฏิบัติสาหรับการประมาณการการสัมผัสมลพิษภายในครัวเรือน (ในร่ม) ของมนุษย์และภาระโรคที่ เกี่ยวข้อง เนื่องจากปัจจุบันยังสามารถหากลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนระดับชาติของความเข้มข้นในร่มของสารพิษที่เป็น เกณฑ์ เช่น ฝุ่นละเอียดและคาร์บอนมอนอกไซด์ อย่างไรก็ตาม การศึกษาเชิงระบาดวิทยาให้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ในการสร้างค่าประมาณการโดยใช้ปัจจัยตัวแทนเหล่านี้ได้ ตัวชี้วัดจะยึดเอาประเภทเชื้อเพลิงหลักและเทคโนโลยีที่ใช้ในการประกอบอาหาร เนื่องจากการประกอบอาหารนั้นเป็น การใช้พลังงานที่มีสัดส่วนมากที่สุดในความต้องการใช้พลังงานของครัวเรือนมากที่สุด อย่างไรก็ตาม ครัวเรือนจานวน มากใช้เชื้อเพลิงและเตามากกว่าหนึ่งประเภทในการประกอบอาหารและการให้ความร้อนด้วยเชื้อเพลิงที่มีมลภาวะอาจ เป็นสาเหตุให้ระดับมลพิษทางอากาศในครัวเรือนเพิ่มขึ้นซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและสภาพทางภูมิศาสตร์ นอกจากนี้ การให้แสงสว่างด้วยน ้ ามันก๊าดจุดไฟ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่ก่อมลพิษและเป็นอันตรายมากมีการใช้อย่าง แพร่หลาย และในบางประเทศใช้เป็นเชื้อเพลิงหลักในการประกอบอาหาร ในขณะที่ฐานข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนทั่วโลกที่มีอยู่นั้นเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการติดตามการเข้าถึงพลังงานใน ครัวเรือนสาหรับเชื้อเพลิงในการทาอาหาร แต่ก็มีข้อจากัดมากมายที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไขเมื่อเวลาผ่านไป ขณะนี้ มีข้อมูลจานวนจากัดที่เก็บชนิดของเชื้อเพลิงและอุปกรณ์ที่ใช้ในบ้านเพื่อทาความร้อนและแสงสว่าง ดังนั้นองค์การ อนามัยโลกโดยความร่วมมือกับธนาคารโลก ( World Bank) และพันธมิตรระดับโลกสาหรับเตาหุงต้มที่สะอาด ( Global Alliance for Clean Cook stoves) ได้เป็นเจ้าภาพในกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการสารวจ โดยทางาน ร่วมกับร่วมกับผู้แทนจากสานักงานสถิติของประเทศและหน่วยงานสารวจรายครัวเรือนแห่งชาติ (เช่น การสารวจ ประชากรและสุขภาพ ( Demographic and Health Survey: DHS) แบบสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม ( Multiple Indicator Cluster Survey: MICS), การสารวจมาตรฐานการครองชีพ ( Living Standards Measurement Survey: LSMS)) เพื่อ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==