Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

160 แหล่งข้อมูล คาอธิบาย: การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่มที่สนับสนุนโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้ ทาการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดนี้ ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ระดับต ่ าและระดับกลาง ตั้งแต่เมื่อประมาณปี 2553 ในบาง ประเทศ ข้อมูลดังกล่าวจะถูกรวบรวมไว้ในการสารวจรายครัวเรือนระดับประเทศตัวอื่น ๆ การสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม ( MICS) ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลแหล่งใหญ่ที่มีข้อมูลซึ่งสามารถนามาเปรียบเทียบได้ ได้รวม เอาแหล่งข้อมูลที่รวมเอาเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็กไว้ด้วย เกณฑ์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจพหุดัชนี แบบจัดกลุ่มถูกปรับมาจากแบบวัดลาดับขั้นกลยุทธ์ความขัดแย้งฉบับพ่อแม่-ลูก (CTSPC) ที่เป็นเครื่องมือวัดทาง ระบาดวิทยาที่มีมาตรฐานและได้รับการตรวจสอบแล้วว่าเป็นเครื่องมือที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในหลาย ประเทศทั่วโลก ตลอดจนกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง การสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่มได้รวมเอาชุดคาถามมาตรฐานที่ ครอบคลุมทั้งรูปแบบการอบรมที่ไม่ใช้ความรุนแรง การทาร้ายทางร่างกาย และการข่มเหงทางจิตใจต่อเด็กเอาไว้ด้วย โดยจะเก็บข้อมูลจากเด็กที่มีอายุระหว่าง 1-14 ปี ขณะที่การสารวจสุขภาพและประชากรบางตัวก็ได้มีการนาแบบวัดว่า ด้วยการอบรมเลี้ยงดูเด็กทั้งฉบับมาตรฐานหรือฉบับปรับปรุงที่พบในการสารวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่มเอาไว้ด้วยเช่นกัน กระบวนการเก็บข้อมูล: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจัดกระบวนการหารืออย่างกว้างขวางเพื่อรวบรวมและประเมินผลข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลระดับประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกให้ทันสมัยกับสถานการณ์ของเด็ก จนกระทั่งปีพ.ศ. 2560 กลไกที่องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติใช้สาหรับประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ ระดับประเทศเพื่อสร้างหลักประกันในคุณภาพของข้อมูลและความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากลตาม ตัวชี้วัดหลักที่เกี่ยวข้องกับเด็กดังที่อยู่ในการรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชี้วัดตามเป้าหมาย ( CRING) เมื่อปีพ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ได้จัดกระบวนการหารือในระดับประเทศครั้งใหม่ขึ้นร่วมกับ เจ้าหน้าที่รัฐภายในประเทศเกี่ยวกับตัวชี้วัดการพัฒนาอย่างยั่งยืนระดับโลกในประเด็นด้านเด็ก ในฐานะการคุ้มครอง เดี่ยวหรือร่วมเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานและคาแนะนาการเคลื่อนไหวของข้อมูลสาหรับตัวชี้วัดการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนระดับโลก ที่ให้ความสาคัญกับความเข้มงวดทางเทคนิค ความเป็นเจ้าของของแต่ละประเทศ และการใช้ข้อมูลและ สถิติ กระบวนการหารือเรียกร้องข้อเสนอแนะโดยตรงจากสานักงานสถิติแห่งชาติ รวมทั้งหน่วยงานรัฐอื่น ๆ ที่ รับผิดชอบด้านสถิติอย่างเป็นทางการ การรวบรวมตัวชี้วัด ตลอดจนแหล่งข้อมูลที่ใช้ และการประยุกต์ใช้ นิยาม ประเภท และระเบียบวิธีที่เห็นชอบร่วมกันในระดับสากลกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ แต่ละประเทศจะให้การ ตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะว่าสามารถยอมรับในข้อมูลเฉพาะต่าง ๆ หรือไม่ พร้อมทั้งแจ้งเหตุผลในกรณีที่ไม่สามารถ ยอมรับข้อมูลได้ด้วย รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการหารือสามารถหาได้ในบันทึกคาแนะนา ----------------------------------------------------------------------------------------

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==