Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

163 วิธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ: ประเทศต่าง ๆ สามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์ความรุนแรงทางเพศในวัยเด็กได้จากการสารวจรายครัวเรือน อาทิ การสารวจสุขภาพและประชากร ในบางประเทศ ข้อมูลดังกล่าวจะถูกรวบรวมไว้ในการสารวจรายครัวเรือน ระดับประเทศตัวอื่น ๆ รวมทั้งการสารวจเรื่องความรุนแรงโดยเฉพาะ ตัวชี้วัดนี้ให้ภาพประสบการณ์ความ รุนแรงทาง เพศที่เกิดขึ้นในช่วงวัยเด็ก (เช่น ก่อนอายุ 18 ปี) โดยไม่คานึงถึงอายุขั้นต ่ าที่ได้รับการรับรองให้มีเพศสัมพันธ์ได้ตาม กฎหมายในแต่ละประเทศ การรับประกันคุณภาพ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะเก็บรักษาฐานข้อมูลระดับโลกที่เกี่ยวกับการความรุนแรงทางเพศในวัยเด็กที่ใช้ สาหรับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนและรายงานที่เป็นทางการอื่น ๆ ทั้งนี้ก่อนที่จะมีการรวบรวมข้อมูลใด ๆ ไว้ใน ฐานข้อมูลนั้น จะต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่สานักงานใหญ่ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง สหประชาชาติเพื่อความถูกต้องตรงกันและคุณภาพของข้อมูลทั้งหมด การตรวจสอบนี้จะเป็นไปตามเกณฑ์กาหนดของ วัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวที่จะนาไปไว้ในฐานข้อมูลนั้นมีความทันสมัยและเชื่อถือได้ เกณฑ์ กาหนดต่าง ๆ เหล่านี้ ได้แก่ แหล่งข้อมูลจะต้องมีการจัดทาอย่างเหมาะสม ค่าของข้อมูลจะต้องสามารถเป็นตัวแทนของ ประชากรในระดับประเทศได้ ข้อมูลผ่านการเก็บรวบรวมด้วยระเบียบวิธีที่เหมาะสม (เช่น การสุ่มตัวอย่าง) ค่าของ ข้อมูลที่ได้จะต้องมาจากกลุ่มตัวอย่างที่มากเพียงพอ ข้อมูลมีความเข้ากันได้กับนิยามตัวชี้วัดที่เป็นมาตรฐานรวมถึง กลุ่มอายุ และแนวคิด ตามขอบเขตที่เป็นไปได้ ข้อมูลมีความเหมาะสมตามแนวโน้มและมีความสอดคล้องกับการ ประมาณการที่เผยแพร่/รายงานตามตัวชี้วัดก่อนหน้านี้ เมื่อปีพ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จัดการหารือประจาปีร่วมกับเจ้าหน้าที่รัฐเกี่ยวกับตัวชี้วัดการ พัฒนาอย่างยั่งยืนที่เกี่ยวข้องกับเด็กทั้ง 10 ตัวชี้วัดในบทบาทการคุ้มครองทั้งแบบเดี่ยวและแบบรวม ร่วมกับกฎกติกา ในระดับโลก และบรรทัดฐานพันธกรณีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กภายในปีพ.ศ. 2573 ซึ่งรวมถึงตัวชี้วัด 16.2.3 เค้าโครง รายละเอียดกระบวนการหารือระดับประเทศอยู่ด้านล่างของเอกสาร แหล่งข้อมูล คาอธิบาย: การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจสุขภาพและประชากรได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัดนี้ในกลุ่ม ประเทศที่มีรายได้น้อยและรายได้ปานกลางมาตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 2533 การสารวจสุขภาพและประชากรได้รวมเอาเกณฑ์มาตรฐานที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบเฉพาะของความรุนแรงทางเพศ จานวนหนึ่ง ผู้ตอบแบบสารวจจะถูกสอบถามว่าในช่วงหนึ่งของชีวิต (ทั้งที่เป็นเด็กและผู้ใหญ่) ว่าเคยมีผู้อื่นที่บังคับให้ พวกเขา – ทางกายหรือด้วยวิธีอื่นใด – เพื่อให้มีเพศสัมพันธ์หรือมีการกระทาทางเพศที่พวกเขาไม่ต้องการบ้างหรือไม่ หากคาตอบคือ “ ใช่ ” ก็จะสอบถามถึงอายุที่พวกเขาประสบกับเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นครั้งแรก ทั้งนี้ต้องทาความเข้าใจว่า เกณฑ์ที่ใช้ในการสารวจสุขภาพและประชากรนี้ มิได้ออกแบบมาเพื่อแสวงหาข้อมูลว่าด้วยความรุนแรงทางเพศในวัย เด็กโดยเฉพาะ ในขณะที่ก็สามารถให้ข้อมูลที่นามาใช้ในการรายงานตามตัวชี้วัดที่ 16.2.3 ได้ การทางานเชิงระเบียบวิธี ยังมีความจาเป็นในการพัฒนาคาถามที่เป็นมาตรฐาน ซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อวัดการถูกกระทาทารุณทางเพศใน วัยเด็กเป็นการเฉพาะ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==