Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

16 เมื่อประเมินความครอบคลุมและช่องว่างในการครอบคลุมแล้ว ต้องจาแนกความแตกต่างระหว่างความครอบคลุมโดย ( 1) ประกันสังคมที่ผู้ได้รับประโยชน์ต้องร่วมจ่าย ( 2) โครงการที่ให้การคุ้มครองถ้วนหน้า ( universal schemes) ที่ ครอบคลุมผู้ประชาชนในประเทศ (หรือประชาชนทั้งหมดที่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง) และ ( 3) โครงการการทดสอบหา ค่าเฉลี่ย ( means-tested schemes) อันมีศักยภาพที่จะครอบคลุมทุกคนที่ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับรายได้และ/หรือ สินทรัพย์ หลักการและเหตุผล และการตีความ: การเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมในระดับพื้นฐานที่สุดตลอดทั้งวงจรชีวิตเป็นสิทธิมนุษยชนข้อหนึ่ง หลักการของความ เป็นสากลของมาตรการคุ้มครองทางสังคม ( the principle of universality of social protection) เป็นหลักฐานของ ความสาคัญของระบบความคุ้มครองทางสังคมที่รับประกันสภาพความเป็นอยู่ที่ดีสาหรับประชากรทุกคนตลอดชีวิตของ พวกเขา สัดส่วนของประชากรที่อยู่ภายใต้ระบบการคุ้มครองทางสังคมหรือการคุ้มครองทางสังคมระดับพื้นฐานทาให้มี ข้อบ่งชี้ได้ว่าความเป็นสากลดังกล่าวได้ถูกทาให้สาเร็จเพียงใดแล้วและสภาพความเป็นอยู่ของประชากรมีความมั่นคง เพียงใด การวัดความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลควรจะสะท้อนว่าความเป็นจริงของการจัดให้มีสิ่งดังกล่าวตามกฎหมายถูก ดาเนินการอย่างไร มันหมายถึงสัดส่วนของประชากรที่ได้รับประโยชน์จริงจากโครงการมาตรการทางสังคมทั้งที่ผู้รับ ประโยชน์ต้องร่วมจ่ายและที่ไม่ต้องร่วมจ่าย บวกกับจานวนบุคคลที่ร่วมจ่ายให้กับโครงการประกันสังคม ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: ข้อมูลถูกเก็บผ่านการสารวจของ ILO เองที่ดาเนินอยู่เป็นระยะเวลากว่าทศวรรษ เรียกว่า การศึกษาความมั่นคงทาง สังคมขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ ( ILO Social Security Inquiry: SSI) เมื่อใดก็ตามที่ประเทศส่งข้อมูล ตัวชี้วัด จะถูกจาแนกตามเพศ ตัวชี้วัดจาแนกโดยประเทศและภูมิภาคก็มีให้เช่นกัน ระเบียบวิธี การคานวณครอบคลุมตัวชี้วัดที่ต่าง ๆ เพื่อที่จะแยกแยะให้เห็นความครอบคลุมที่มีประสิทธิผลสาหรับเด็ก ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีความพิการ มารดาและทารกแรกเกิด คนทางานที่ได้รับความคุ้มครองในกรณีที่บาดเจ็บจากการ ทางาน และคนจนและคนเปราะบาง สาหรับแต่ละกรณีนั้น ความครอบคลุมแสดงออกมาในรูปแบบของสัดส่วนที่มีต่อ ประชากรที่พิจารณา การคานวณทาให้ได้ตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ a) สัดส่วนของเด็กที่ถูกครอบคลุมโดยประโยชน์จากการคุ้มครองทางสังคมประเภทต่าง ๆ: อัตราส่วนของ เด็ก/ครัวเรือนที่ได้รับเงินสงเคราะห์เด็กหรือครอบครัว ต่อจานวนรวมของเด็กหรือครอบครัวที่มีเด็ก b) สัดส่วนของผู้หญิงที่ให้กาเนิดที่ได้รับเงินสงเคราะห์มารดา: อัตราส่วนของผุ้หญิงที่ได้รับเงินสงเคราะห์ มารดาที่อยู่ในรูปเงินสด ต่อผู้หญิงที่ให้กาเนิดบุตรทั้งหมดในปีเดียวกัน (ประมาณการบนฐานของอัตรา การเจริญพันธุ์ในช่วงอายุจาเพาะเผยแพร่ในเอกสาร the UN’s World Population Prospects หรือบนฐาน ของจานวนการเกิดมีชีพ ( live birth) โดยปรับให้ถูกต้องสาหรับกรณีแฝดสอง หรือ แฝดสาม) c) สัดส่วนของบุคคลที่มีความพิการที่ได้รับเงินสงเคราะห์: อัตราส่วนของบุคคลที่ได้รับเงินสงเคราะห์คน พิการที่เป็นเงินสด ต่อจานวนบุคคลที่มีความพิการอย่างรุนแรง ตัวเลขตัวหลังนี้ถูกคานวณให้เป็นสัดส่วน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==