Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

30 เป้าหมายที่ 2 : ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรม ที่ยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 2.1: ยุติความหิวโหยและสร้างหลักประกันให้ทุกคนโดยเฉพาะคนที่ยากจนและอยู่ในภาวะ เปราะบาง อันรวมถึงทารก ได้เข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย มีโภชนาการ และเพียงพอตลอดทั้งปี ภายในปี 2573 ตัวชี้วัดที่ 2.1.2 ความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารของประชากรในระดับปานกลางหรือรุนแรง โดยใช้ เกณฑ์การวัดของระบบการวัดประสบการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร (Food Insecurity Experience Scale: FIES) ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ( Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) แนวคิดและนิยาม นิยาม : ตัวชี้วัดนี้วัดร้อยละของบุคคลในกลุ่มประชากรผู้ซึ่งประสบกับความไม่มั่นคงทางอาหารในระดับปานกลางหรือรุนแรง ระหว่างช่วงเวลาอ้างอิง ระดับความรุนแรงของความไม่มั่นคงทางอาหาร ถูกนิยามว่าเป็นคุณลักษณะที่แอบซ่อนอยู่ ( latent trait) ถูกวัดโดยใช้ระบบการวัดอ้างอิงระดับโลกที่เรียกว่า ระบบการวัดประสบการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร ( Food Insecurity Experience Scale: FIES) ซึ่งเป็นวิธีการวัดมาตรฐานที่จัดทาขึ้นโดย FAO จากการประยุกต์ใช้ FIES ในประเทศมากกว่า 140 ประเทศทั่วโลก เริ่มในปี พ.ศ. 2557 หลักการและเหตุผล: ความไม่มั่นคงทางอาหารที่มีความรุนแรงทางอาหารระดับกลางมักจะสัมพันธ์กับความไม่สามารถที่จะมีการกินที่ดีต่อ สุขภาพอย่างสม ่ าเสมอและมีอาหารที่สมดุล ดังนั้น ความชุกที่สูงของความไม่มั่นคงทางอาหารในระดับปานกลาง สามารถใช้เป็นเครื่องทานายรูปแบบเงื่อนไขด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกินในกลุ่มประชากร สัมพันธ์กับภาวะ ขาดแร่ธาตุวิตามิน ( Micronutrient deficiency) และอาหารที่ไม่สมดุล สาหรับความไม่มั่นคงทางอาหารระดับรุนแรงนั้น จะสะท้อนความน่าจะเป็นที่สูงของการกินอาหารที่ลดลง จึงนามาซึ่งรูปแบบที่รุนแรงกว่าของ ภาวะโภชนาการต ่ า ( undernutrition) รวมไปถึงความอดอยาก ( hunger) แบบสอบถามสั้นๆ อย่าง FIES นั้นง่ายมากในการดาเนินการเก็บและมีต้นทุนต ่ า ซึ่งถือเป็นหนึ่งในข้อได้เปรียบของการ ใช้แบบสอบถามเหล่านี้ อย่างไรก็ดี ข้อจากัดคือความสามารถในการชี้บ่งชี้อย่างแม่นยาเกี่ยวกับสถานะความไม่มั่นคง ทางอาหารของบุคคลหรือครัวเรือนหนึ่ง ๆ เนื่องจากจานวนข้อคาถามที่น้อย นี่เป็นเหตุผลที่ว่าเหตุใดการจัดกลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถามแต่ละคนให้อยู่ในกลุ่มความไม่มั่นคงทางอาหารกลุ่มใดนั้นจึงทาได้ดีที่สุดในรูปแบบของความน่าจะเป็น เพื่อที่จะทาให้มั่นใจว่าการประมาณการอัตราความชุกในกลุ่มประชากรนั้นมีความเชื่อถือมากพอแม้ว่ากลุ่มตัวอย่างจะมี ขนาดเล็กก็ตาม ด้วยการใช้การประเมินทางสถิติ ความเชื่อถือได้และความแม่นยานั้นขึ้นอยู่กับคุณภาพของการออกแบบการสารวจและ การนาไปปฏิบัติจริงอย่างยิ่ง ข้อได้เปรียบข้อหนึ่งของการทาการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีการที่อยู่บนฐานของ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==