Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata
32 รายงานประสบการณ์และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหาร ข้อมูลที่ถูกวิเคราะห์ โดยการใช้แบบจาลอง Rasch ( หรือที่รู้จักในฐานะ แบบจาลองแบบโลจิสติกแบบ 1 ค่าสัมประสิทธิ์ ( one-parameter logistic model: 1-PL) ซึ่งสมมติให้ความน่าจะเป็นของการสังเกตการณ์คาตอบที่ชัดเจนโดยผู้ตอบแบบสอบถาม i ต่อ คาถาม j เป็นฟังก์ชันโลจิสติกของระยะทางบนระดับของความรุนแรง ระหว่างตาแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม และของตัวเลือก/หน่วย . { , = } = exp( − ) 1 + exp( − ) ค่าสัมประสิทธิ์ และ สามารถถูกประมาณการโดยใช้กระบวนการหาความเป็นไปได้สูงที่สุด ( Maximum Likelihood) สาหรับค่าสัมประสิทธิ์ นั้นจะถูกตีความให้เป็นการวัดความรุนแรงของเงื่อนไขความมั่นคงทางอาหาร สาหรับผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละคนและถูกใช้ในการจัดประเภทพวกเขาให้อยู่ในระดับต่าง ๆ ของความไม่มั่นคงทาง อาหาร FIES พิจารณาความไม่มั่นคงทางอาหาร 3 ระดับ คือ ( a) มีความมั่นคงทางอาหารหรือมีความไม่มั่นคงทางอาหาร เล็กน้อย ; (b) มีความไม่มั่นคงทางอาหารปานกลางหรือรุนแรง และ ( c) ความไม่มั่นคงทางอาหารรุนแรง และประมาณ การความน่าจะเป็นของความไม่มั่นคงทางอาหารระดับปานกลางและรุนแรง ( + ) และความน่าจะเป็นของ ความไม่มั่นคงทางอาหารขั้นรุนแรง ( ) สาหรับผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละราย ด้วย 0 < < + < 1 ความน่าจะเป็นของการมีความมั่นคงทางอาหารหรือมีความไม่มั่นคงทางอาหารเล็กน้อยหาจาก = 1 − + จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากร ความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารในระดับกลางหรือรุนแรง ( + ) และที่ระดับรุนแรง ( ) ในกลุ่มประชากรจะถูกคานวณเป็นผลรวมที่ถูกถ่วงน ้ าหนักแล้วของความ น่าจะเป็นในการอยู่ในประเภทความไม่มั่นคงทางอาหารของผู้ตอบแบบสอบถามรายบุคคลหรือครัวเรือนทั้งแบบปาน กลางหรือรุนแรง และแบบรุนแรง ตามลาดับ ดังตัวอย่างดังนี้ (1) + = ∑ + × และ (2) = ∑ × โดย คือ ค่าน ้ าหนักหลังการจัดกลุ่ม ( post-stratification weights) ที่ชี้ถึงสัดส่วนของปัจเจกชนหรือครัวเรือนใน ประชากรของประเทศที่ถูกนาเสนอโดยแต่ละองค์ประกอบตามตัวอย่างข้างต้น หาก คือค่าถ่วงน ้ าหนักของตัวอย่างระดับปัจเจกชน ค่าความชุกของความไม่มั่นคงทางอาหารจะหมายถึงจานวน ประชากรรวมของปัจเจกชนทั้งหมด ขณะที่หาก wi คือค่าถ่วงน ้ าหนักของครัวเรือน ค่าความชุกจะหมายถึงจานวน ประชากรของครัวเรือน สาหรับการคานวณของตัวชี้วัด 2.1.2 เป้าหมายคือการผลิตค่าความชุกของปัจเจกชน นี่สื่อว่า:
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==