Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

43 เป้าหมายที่ 2 : ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรม ที่ยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 2.2: ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบและแก้ไขปัญหาความต้องการสารอาหารของหญิงวัยรุ่น หญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร และผู้สูงอายุ ภายในปี 2573 รวมถึงบรรลุเป้าหมายที่ตกลงร่วมกันระหว่าง ประเทศว่าด้วยภาวะแคระแกร็นและผอมแห้งในเด็กอายุต ่ ากว่า 5 ปี ภายในปี 2568 ตัวชี้วัดที่ 2.2.2: ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมินน ้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ตามมาตรฐานการ เจริญเติบโตในเด็กอายุต ่ ากว่า 5 ปี ขององค์การอนามัยโลก ( WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เบี่ยงเบนไป จากค่ามัธยฐาน โดย 1) ภาวะน ้ าหนักเกิน ( Overweight) น ้ าหนักตัวของเด็กสูงกว่าค่ามัธยฐานของน ้ าหนัก ตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กเกิน 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (+2 SD) 2) ภาวะผอม ( Wasting) น ้ าหนักตัว ของเด็กต ่ ากว่าค่ามัธยฐานของน ้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กน้อยกว่า -2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (-2 SD) ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ( United Nations Children’s Fund: UNICEF) องค์การอนามัยโลก ( World Health Organisation: WHO) ธนาคารโลก ( World Bank: WB) แนวคิดและนิยาม นิยาม : ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมินน ้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง >+2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจากมาตรฐานการ เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลก ( WHO)) ในกลุ่มเด็กอายุต ่ ากว่า 5 ปี หลักการและเหตุผล: ทั่วโลกต่างยอมรับว่าการเจริญเติบโตของเด็กเป็นผลลัพธ์ที่สะท้อนให้เห็นถึงภาวะโภชนาการ ภาวะน ้ าหนักเกิน หมายถึง เด็กที่มีน ้ าหนักมากเกินไปเมื่อเทียบกับส่วนสูง ภาวะทุพโภชนาการลักษณะนี้เป็นผลจากบริโภคอาหารที่มี ปริมาณแคลอรี่มากเกินไป และ เป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อในภายหลัง ภาวะน ้ าหนักเกินในเด็ก เป็นเป้าหมายหนึ่งในตัวชี้วัดภาวะทางโภชนาการของสมัชชาอนามัยโลก แนวคิด: ตัวชี้วัดทางการของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษคือภาวะน ้ าหนักเกินโดยประเมินจากน ้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง อย่างไรก็ตาม ภาวะน ้ าหนักเกินยังสามารถประเมินได้โดยตัวชี้วัดอื่น ๆ อาทิ มวลร่างกายตามอายุ โดยทั่วไปการ ประเมินมวลร่างกายตามอายุจะมิได้ถูกนามารวมอยู่ในชุดข้อมูลร่วม แต่ก็ถูกนามาพิจารณาในกรณีที่ไม่มีการประมาณ การอื่น ๆ ที่สามารถค้นหาได้ ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: ค่าประมาณการจากผลสารวจมีระดับความไม่เสถียรอันเนื่องจากความผิดพลาดในการสุ่มตัวอย่าง และ กรณีอื่น ๆ (อาทิ ความผิดพลาดในเทคนิคการวัดค่า ความผิดพลาดในการบันทึก เป็นต้น) ความผิดพลาดทั้ง 2 นี้ไม่ได้ถูกนามา พิจารณาอย่างเต็มที่ในการจัดทาค่าประมาณการทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อกังวลเกี่ยวกับ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==