Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata
4 เป้าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ เป้าประสงค์ที่ 1.1 ภายในปี 2573 ขจัดความยากจนขั้นรุนแรงของประชาชนในทุกพื้นที่ให้หมดไป ซึ่งใน ปัจจุบันความยากจนวัดจากคนที่มีค่าใช้จ่ายดารงชีพรายวันต ่ ากว่า $ 1.25 ต่อวัน ตัวชี้วัดที่ 1.1.1: สัดส่วนประชากรที่มีรายได้ต ่ ากว่าเส้นความยากจนสากล จาแนกตาม เพศ อายุ สถานะการ จ้างงาน และ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (ชุมชนเมือง/ชนบท) ข้อมูลเชิงสถาบัน องค์กร : ธนาคารโลก ( World Bank: WB) แนวคิดและคานิยาม นิยาม ตัวชี้วัดสัดส่วนของประชากรภายใต้เส้นความยากจนสากลถูกนิยามว่าเป็นร้อยละของจานวนประชากรที่ใช้ชีวิตด้วยเงิน น้อยกว่า 1.90 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน ที่ระดับราคาสากลในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งจานวนเงินดังกล่าวก็คือ “เส้นความยากจน สากล” ( International Poverty Line) หลักการและเหตุผล การติดตามความยากจนมีความสาคัญต่อวาระการพัฒนาระดับโลกและวาระการพัฒนาแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ ธนาคารโลกได้จัดทาการประมาณการความยากจนระดับโลกสาหรับประเทศกาลังพัฒนาตีพิมพ์ในรายงานการพัฒนา ของโลก: ความยากจน ( World Development Report 1990: Poverty) (World Bank 1990) โดยใช้ข้อมูลการสารวจ รายครัวเรือนจาก 22 ประเทศ ( Ravallion, Datt, และ van de Walle 1991) หลังจากปี 1990 ธนาคารโลกขยายชุด ข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนด้านรายได้และรายจ่ายให้ครอบคลุมประเทศจานวนมากขึ้น ชุดข้อมูลดังกล่าวประกอบ ขึ้นเป็นฐานข้อมูลและถูกดูแลรักษาและอัพเดทโดยกลุ่มวิจัยด้านการพัฒนา ( Development Research Group) โดยการ อัพเดทนั้นจัดทาเป็นรายปี โดยนาข้อมูลใหม่มาเพิ่มในฐานข้อมูลหรืออาจนาไปสู่การทบทวนข้อมูลเดิม ชุดข้อมูล ดังกล่าวยังถูกใช้ในการประเมินผลความก้าวหน้าในการต่อสู้กับความยากจนในทุก ๆ ปี อีกด้วย ชุดข้อมูลดังกล่าวจะ ถูกประมวลผลด้วยเครื่องมือการคานวณที่ปฏิสัมพันธ์ได้ ( Interactive computational tool) ที่เรียกว่า PovcalNet เครื่องมือนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถผลิตซ ้ าค่าประมาณการความยากจนในระดับโลก ภูมิภาคและประเทศ ณ เส้นความ ยากจนสากลที่ 1.90 และ 3.10 ดอลล่าสรอ.ต่อวัน และคานวณมาตรวัดความยากจนสาหรับกลุ่มประเทศตามแต่จะจัด กลุ่มและเส้นความยากจนอื่น ๆ ระบบข้อมูลความยากจนและความเป็นธรรม ( The Poverty and Equity Data) เป็นช่องทางในการเข้าถึงฐานข้อมูล มี แผงหน้าปัดแสดงข้อมูล ( dashboard) ที่ง่ายต่อการใช้งาน และมีกราฟและแผนที่ที่ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้และแสดงภาพ แนวโน้มของตัวชี้วัดหลักด้านความยากจนและความเหลื่อมล ้ าสาหรับภูมิภาคและประเทศต่าง ๆ แผงหน้าปัดแสดง ข้อมูลของประเทศนาเสนอแนวโน้มของมาตรวัดความยากจนบนฐานของเส้นความยากจนระดับชาติเปรียบเทียบกับ ค่าประมาณการระดับสากลที่จัดทาโดยและสอดคล้องกับผลการคานวณจาก PovcalNet แนวคิด ในการประเมินความยากจนในประเทศหนึ่งๆ และหาวิธีการที่ดีที่สุดในการลดความยากจน เรามักจะพิจารณาเส้นความ ยากจนที่เหมาะสมกับประเทศนั้น ๆ แต่เมื่อพูดถึง “ ความยากจนระดับโลก ” เราจะสามารถอธิบายความยากจนดังกล่าว
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==