Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

5 อย่างมีความหมายได้อย่างไร ? เส้นความยากจนแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันในแง่ของอานาจซื้อและมักจะมีระดับ ที่แตกต่างกันตามระดับการพัฒนาของเศรษฐกิจ เช่น ประเทศร ่ ารวยมักจะใช้เส้นความยากจนที่สะท้อนคุณภาพชีวิตที่ สูงกว่าประเทศยากจน หากจะวัดเส้นความยากจนในแง่ของการบริโภค เราจะสามารถวัดความยากจนของคนสองคนที่ มีอานาจซื้อต่อสินค้าบริการหนึ่ง ๆ เท่ากัน ไม่ว่าจะยากจนหรือไม่ยากจน แม้ว่าเขาจะอยู่คนละประเทศก็ตาม นับตั้งแต่รายงาน World Development Report ในปีพ.ศ. 2533 ธนาคารโลกตั้งเป้าหมายที่จะประยุกต์มาตรฐานร่วมใน การวัดระดับความยากจนข้นแค้น ( Extreme Poverty) โดยยึดโยงกับความหมายของความยากจนในกลุ่มประเทศที่ ยากจนที่สุด สวัสดิการของผู้คนที่อาศัยอยู่ในประเทศต่าง ๆ สามารถถูกวัดได้บนระบบการวัดเดียวกันโดยปรับให้เข้ากับอานาจซื้อที่ แตกต่างกันของอัตราแลกเปลี่ยนแต่ละประเทศ มาตรฐานที่ใช้โดยทั่วไปคือ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวันโดยวัดในปี พ.ศ. 2528 อันเป็นระดับราคาสากลและปรับให้เข้ากับสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้ ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ ( purchasing power parity: PPP) มาตรฐานดังกล่าวถูกเลือกใช้สาหรับรายงานการพัฒนาโลก ( World Development Report ) ปี พ.ศ. 2533 ทั้งนี้เนื่องจากมาตรฐานนั้นเป็นเส้นความยากจนที่ใช้ทั่วไปในประเทศรายได้ต ่ าในเวลานั้น ต่อมาเมื่อค่า ครองชีพทั่วโลกได้เปลี่ยนไปตามสภาพเศรษฐกิจสังคมของโลก เส้นความยากจนก็ต้องถูกอัพเดทเป็นช่วงโดยใช้ข้อมูล ด้านราคาตามค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ ( PPP) ใหม่เพื่อสะท้อนความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ การเปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในเดือนตุลาคมปี พ.ศ. 2558 เมื่อธนาคารโลกเลือกใช้ค่า 1.90 ดอลลาร์สรอ. เป็นเส้น ความยากจนสากลโดยใช้ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ ( PPP) ของปี พ.ศ. 2554 โดยก่อนหน้านั้น การปรับในปี พ.ศ. 2551 กาหนดให้เส้นความยากจนสากลมีค่าเท่ากับ 1.25 ดอลลาร์สรอ. โดยใช้ ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ ( PPP) ปี พ.ศ. 2548 มาตรวัดความยากจนที่อยู่บนฐานของเส้นความยากจนสากลพยายามที่จะทาให้ค่าที่แท้จริงของ เส้นความยากจนคงที่ในทุกประเทศแบบเดียวกับที่ดาเนินการเวลาต้องการเปรียบเทียบเส้นความยากจนแบบข้ามเวลา ตัวชี้วัดการพัฒนาโลกของธนาคารโลก ( World Bank’s World Development Indicators, WDI) ใช้ค่าภาวะเสมอภาค ของอานาจซื้อ ( PPP) จากฐานข้อมูล Penn World Tables ในการแปลงค่าของสกุลเงินท้องถิ่นให้เท่ากับอานาจซื้อที่วัด โดยใช้ดอลลาร์สรอ. สาหรับการประมาณค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ ( PPP) การบริโภคชุดหลัง ๆ ที่ใช้ในปี พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2548 และพ.ศ. 2554 ถูกผลิตโดย โครงการการเปรียบเทียบระดับสากล ( International Comparison Program (ICP) ) ของธนาคารโลก ข้อคิดเห็นและข้อจากัด 5 ประเทศ ประกอบด้วย บังคลาเทศ กาบูเวร์ดี กัมพูชา จอร์แดน และลาว ใช้ปัจจัยการแปลงค่าบนฐานของค่าภาวะ เสมอภาคของอานาจซื้อปี พ.ศ. 2548 ( the 2005 PPP conversion factors) และเส้นความยากจนที่ 1.25 ดอลลาร์สรอ. ต่อวัน และ 2 ดอลลาร์สรอ. ต่อวัน ที่สอดคล้องกับบริบทของประเทศนั้น ประเทศเหล่านี้ใช้ค่าดังกล่าวในการคานวณ เนื่องจากความผันแปรขนาดใหญ่ในอัตราการเปลี่ยนแปลงในปัจจัย PPP โดยเปรียบเทียบกับอัตราการเปลี่ยนแปลง ของดัชนีราคาผู้บริโภคภายในประเทศ โปรดดูกล่องข้อความ 1.1 ในรายงานการติดตามระดับโลก ปี ค.ศ. 2015/2016 (Global Monitoring Report 2 0 1 5 / 2 0 1 6 ) ( http://www.worldbank.org/en/publication/global ‐ monitoring ‐ report) สาหรับคาอธิบายในรายละเอียด ถึงแม้จะมีความก้าวหน้าในทศวรรษที่ผ่านมา ความท้าทายในการวัดความยากจนยังคงมีอยู่ ความทันเวลา ความถี่ คุณภาพ และความสามารถในการเปรียบเทียบกันได้ของการสารวจรายครัวเรือนควรจะต้องเพิ่มขึ้นมากกว่านี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==