Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

73 ชาติในแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ประเทศต่าง ๆ ประมาณการอัตราส่วนของประชากรที่มีความเสี่ยงสูง ( H) และความเสี่ยงต ่ า ( L) และจานวนประชากรทั้งหมดที่มีความเสี่ยงตามสูตร จานวนประชากรขององค์การสหประชาชาติ x (H + L) จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด ( T) จะถูกประมาณการจากจานวนของผู้ติดเชื้อมาลาเรียที่รายงานโดยกระทรวง สาธารณสุขซึ่งจะนามาจัดเรียบเรียงโดยพิจารณาถึง ( i) ความไม่สมบูรณ์ของระบบการรายงาน ( ii) ผู้ป่วยที่เข้ารับ บริการจากสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชน การรักษาด้วยตนเองหรือการไม่เข้ารับการรักษา ( iii) การวินิจฉัยเกิน และขาดการยืนยันผู้ติดเชื้อโดยห้องปฏิบัติการ กระบวนการที่ได้อธิบายไว้ในรายงานมาลาเรียโลก ปีพ.ศ. 2552 (2) รวมข้อมูลที่รายงานโดยโครงการควบคุมมาลาเรียแห่งชาติ (ผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรายงาน ความคร บถ้วนของการ รายงาน และความเป็นไปได้ของการมีเชื้อโรคอยู่ในร่างกาย) และข้อมูลที่ได้รับจากการสารวจรายครัวเรือนที่เป็น ตัวแทนระดับประเทศเกี่ยวกับการใช้บริการด้านสุขภาพ ตามสูตรโดยสังเขป ดังนี้ = ( + × ) × (1 + ℎ + 1 − − ℎ 2 ) โดยให้ a หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อมาลาเรียที่ได้รับการยืนยันจากภาครัฐ b หมายถึง จานวนผู้ป่วยที่รับการทดสอบการติดเชื้อในกรณีที่น่าสงสัย c หมายถึง จานวนผู้ป่วยที่สันนิษฐานว่าได้รับเชื้อ (ไม่มีการทดสอบแต่ให้การรักษาเสมือนผู้ติดเชื้อมาลาเรีย) d หมายถึง ความสมบูรณ์ของรายงาน e หมายถึง การทดสอบที่พบเชื้อมาลาเรียในเลือด (สัดส่วนของเชื้อมาลาเรียที่พบ) = a/b f หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อที่พบในภาครัฐ คานวณโดยสูตร ( a + (c x e)) / d g หมายถึง สัดส่วนการเข้ารับการรักษาที่พบในภาครัฐ h หมายถึง สัดส่วนการเข้ารับการรักษาที่พบในภาคเอกชน i หมายถึง สัดส่วนของการไม่เข้ารับการรักษา คานวณโดยสูตร (1- g-h) / 2 j หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อที่อยู่ในภาคเอกชน คานวณโดยสูตร f x h / g k หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อที่ไม่อยู่ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน คานวณโดยสูตร f x i / g T หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อทั้งหมด คานวณโดยสูตร f + j + k เพื่อประมาณการความไม่แน่นอนรอบ ๆ จานวนของกรณีผู้ติดเชื้อ อัตราการทดสอบและพบเชื้อมาลาเรียถูกตั้งข้อ สมมติว่าจะมีการกระจายที่แบบปกติ โดยมีจุดกึ่งกลางอยู่ที่ค่า Test Positive Rate และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ คานวณได้ตามสูตร คือ 0.244 × 0.5547 และผลที่ตัดทอนแล้วให้อยู่ในช่วง 0 , 1 ความสมบูรณ์ ของรายงานมีสมมติฐานว่ามีหนึ่งในสามแบบของการกระจายตัวของข้อมูลขึ้นกับช่วงและค่าที่ถูกรายงานโดย โครงการ ควบคุมมาลาเรียแห่งชาติของแต่ละประเทศ หากช่วงนั้นมากกว่าร้อยละ 80 จะมีข้อสมมติว่าการกระจายตัวจะเป็น สามเหลี่ยมโดยมีช่วง limits คือ 0.8 และ 1 และมีจุดสูงสุดที่ 0.8 หากช่วงนั้นมากกว่าร้อยละ 50 จะมีข้อสมมติว่าการ กระจายตัวจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยมีช่วง limits เท่ากับ 0.5 และ 0.8 และท้ายที่สุด หากช่วงนั้นต ่ ากว่าร้อย ละ 50 จะมีข้อสมมติว่าการกระจายตัวจะมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมโดยมีช่วง limits เท่ากับ 0 และ 0.5 และมีจุดสูงสุดที่ 0.5 ( 3). หากความสมบูรณ์ของรายงานถูกรายงานเป็นมูลค่าและมากกว่าร้อยละ 80 การกระจายตัวแบบ beta จะถูกตั้ง

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==