Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

74 ข้อสมมติด้วยค่าเฉลี่ยของค่าที่ถูกรายงาน (มีค่าสูงสุดเท่ากับร้อยละ 95) และมีช่วงความเชื่อมั่นเท่ากับร้อยละ 5 รอบ ค่าเฉลี่ย สัดส่วนของเด็กที่ได้รับการดูแลโดยภาคเอกชนและภาครัฐถูกตั้งข้อสมมติว่าจะมีการกระจายตัวแบบ beta โดย มีค่าเฉลี่ยเป็นค่าถูกประมาณการในการสารวจและในส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคานวนจากช่วงของความเชื่อมั่นที่ถูก ประมาณการคิดเป็นร้อยละ 95 หารด้วย 4 สัดส่วนของเด็กที่ไม่ได้รับการรักษาถูกตั้งสมมติฐานให้มีการกระจายแบบ สี่เหลี่ยมผืนผ้า โดย limit ขั้นต ่ าคือ 0 และ limit ขึ้นสูงคือ 1 ลบสัดส่วนที่หาการรักษาจากภาครัฐและเอกชน ค่าของสัดส่วนการเข้ารับการรักษาจะถูกประมาณค่าแบบช่วงเส้นตรงระหว่างปีที่ทาการสารวจ และถูกนามาคาดคะเน สาหรับปีก่อนหน้าปีแรกและหลังจากปีสุดท้ายของการสารวจ ค่าที่ใช้ในการหาการกระจายตัวข้อมูลที่หายไปจะถูก ประมาณค่าสูญหายโดยใช้การผสมผสานผลการกระจายในแต่ละประเทศ กับความน่าจะเป็นที่เท่ากันในแต่ละปีที่ นาเสนอค่า หรือในกรณีที่บางประเทศไม่มีการนาเสนอค่าใด ๆ ในปีใดปีหนึ่ง ข้อมูลการกระจายระดับภูมิภาคในปีนั้นจะ ถูกใช้แทน ข้อมูลที่ได้รับจะถูกวิเคราะห์โดย ซอฟท์แวร์ทางสถิติ R ( 4) ช่วงความเชื่อมั่นที่มาจากการกระจายที่มีความ ซับซ้อน (Convoluted distribution) กว่า 10,000 รายการ (อัฟกานิสถาน บังคลาเทศ (รัฐพหุชนแห่งชาติ) โบลิเวีย บอ สวาน่า บราซิล กัมพูชา โคลัมเบีย สาธารณรัฐโดมินิกัน เอริเทรีย เอธิโอเปีย เฟรนซ์เกียน่า แกมเบีย กัวเตมาลา กายอา น่า ไฮติ ฮอนดูรัส อินเดีย อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาดากัสกา มอริเตเนีย มายอด เมียน มาร์ นามิเบีย เนปาล นิคารากัว ปากีสถาน ปานามา ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รวันดา เซเนกัล หมู่เกาะโซโลมอน ติมอร์ตะวันออก วานูอาตู เวเนซูเอล่า (สาธารณรัฐโบลิวาร์) เวียดนาม เยเมน และ แซมเบีย) สาหรับอินเดีย ค่าที่ได้ รับมาจากระดับท้องถิ่นซึ่งใช้ระเบียบวิธีเดียวกัน แต่มีการจัดหน่วยงานของเอกชนไว้สาหรับปัจจัยเพิ่มเติมที่มาจากการ ตรวจพบผู้ติดเชื้อ ซึ่งประมาณการให้อัตราส่วนของการตรวจพบเชื้อโรคในเลือดในผู้ติดเชื้อรายใหม่มีมากกว่าเชื้อที่พบ ในผู้ติดเชื้อรายเดิม ปัจจัยนี้อนุมานให้มีการกระจายตัวแบบปกติ ด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่คานวณจาก ค่าที่รายงานในปีพ.ศ. 2553 รายงานจากประเทศบังคลาเทศ โบลิเวีย บอสวาน่า บราซิล การ์บูเวดี โคลัมเบีย สาธารณรัฐโดมินิกัน เฟรนซ์เกียน่า กัวเตมาลา กายอาน่า ไฮติ ฮอนดูรัส เมียนมาร์ (ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2556) รวันดา ซูรินาม และ เวเนซูเอล่า (สาธารณรับโบลิวาร์) ให้ข้อมูลผู้ติดเชื้อจากสถานบริการด้านสุขภาพทั้งของรัฐและเอกชน ดังนั้นการ จัดเรียบเรียงข้อมูลสาหรับการรักษาในสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชนจึงไม่จาเป็น สาหรับประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีอัตราการแพร่ระบาดของเชื้อโรคสูง คุณภาพของการรายงานข้อมูลผู้ติดเชื้อถือว่ายัง ไม่เพียงพอสาหรับสูตรคานวณที่ระบุไว้ข้างต้น ในกรณีนี้การประมาณการจานวนผู้ติดเชื้อมาลาเรียจะมาจากข้อมูล ความชุกของเชื้อโรคจากการสารวจรายครัวเรือน ขั้นแรก ข้อมูลความชุกของเชื้อโรคจากการสารวจรายครัวเรือนเกือบ 60,000 ชุดที่ได้รับการบันทึกไว้จะถูกรวบรวมไว้ภายในแบบจาลองธรณีสถิติ Bayesian ตามความสัมพันธ์เชิงเวลาและ พื้นที่ ร่วมกับตัวแปรร่วมด้านสิ่งแวดล้อมและด้านประชากรสังคม การกระจายตัวของข้อมูลด้านการช่วยเหลืออื่นใด เช่น มุ้งชุบสารเคมี ยาต้านมาลาเรีย และการพ่นยาในบ้าน แบบจาลองภูมิสารสนเทศเชิงพื้นที่ช่วยส่งเสริม ความสามารถในการพยากรณ์ความชุกของเชื้อพลาสโมเดียม ฟัลซิพารัม ในเด็กที่มีอายุระหว่าง 2-10 ปี บนพื้นที่ขนาด 5 x 5 ตารางกิโลเมตร ทั่วประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีการแพร่ระบาดของโรคมาลาเรียตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 ถึง 2559 (ดู http://www.map.ox.ac.uk/making-maps/ สาหรับการจัดทาแผนที่สาหรับโครงการสมุดแผนที่มาลาเรีย) ขั้นที่สอง แบบจาลองทั้งหมดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อพยากรณ์อัตราการเกิดของโรคมาลาเรียซึ่งมาจากความชุกของเชื้อโรคมาลาเรีย จากนั้นแบบจาลองจะถูกประยุกต์ใช้กับผลประมาณการความชุกของเชื้อโรคเพื่อจะประมาณการอัตราการเกิดของโรค บนพื้นที่ขนาด 5 x 5 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 ถึง 2559 ข้อมูลที่ได้จากแต่ละพื้นที่ที่มีขนาด 5 x 5 ตาราง กิโลเมตร นี้จะถูกรวบรวมไว้ในระดับประเทศและระดับภูมิภาคเพื่อนาไปประมาณการผู้ติดเชื้อมาลาเรียในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคต่อไป (5) (เบนิน แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชาด คองโก โกตดิวัวร์ สาธารณรัฐ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==