Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

6 โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุด การมีอยู่และคุณภาพของข้อมูลการติดตามความยากจนยังคงอยู่ในระดับต ่ าใน รัฐขนาดเล็ก ประเทศที่อยู่ในสถานะเปราะบางและกลุ่มประเทศรายได้ต ่ า และแม้แต่ในประเทศรายได้ปานกลางบาง ประเทศ ความถี่ที่น้อยและการขาดลักษณะที่การเปรียบเทียบกันได้ของข้อมูลที่มีอยู่ในบางประเทศทาให้เกิดความไม่ แน่นอนในขนาดของการลดความยากจน นอกเหนือจากความถี่และความทันเวลาของข้อมูลการสารวจแล้ว ประเด็นด้านคุณภาพข้อมูลอื่น ๆ ได้เกิดขึ้นในการวัด มาตรฐานคุณภาพชีวิตของครัวเรือนด้วย การสารวจที่ถามคาถามโดยละเอียดเกี่ยวกับแหล่งที่มาของรายได้และ วิธีการใช้จ่าย จะต้องถูกจดบันทึกอย่างระมัดระวังโดยบุคลากรที่ถูกฝึกมาแล้ว รายได้มักจะวัดให้เที่ยงตรงได้ยากกว่า การบริโภคมีความใกล้เคียงกับคาว่าคุณภาพชีวิตมากกว่า และรายได้สามารถแปรผันได้เมื่อเวลาเปลี่ยนไปแม้ว่า คุณภาพชีวิตจะไม่เปลี่ยนแปลงก็ตาม อย่างไรก็ดีข้อมูลการบริโภคไม่ได้สามารถหาได้เสมอไป: ค่าประมาณการล่าสุดที่ ถูกรายงานในเอกสารนี้ใช้ข้อมูลการบริโภคสาหรับประเทศจานวน 2 ใน 3 ของประเทศทั้งหมด อย่างไรก็ดี แม้การสารวจที่คล้ายคลึงกันก็อาจจะไม่ได้สามารถเปรียบเทียบกันอย่างเข้มงวดได้ เพราะความแตกต่างใน ช่วงเวลาหรือคุณภาพและการฝึกอบรมของผู้เก็บข้อมูลสามะโนประชากร การเปรียบเทียบระหว่างประเทศที่มีระดับการ พัฒนาที่แตกต่างกันอาจก่อให้เกิดปัญหาอันเนื่องมาจากความแตกต่างระหว่างความสาคัญโดยเปรียบเทียบของการ บริโภคสินค้าที่ไม่ผ่านตลาด มูลค่าตลาดท้องถิ่นของการบริโภคทั้งหมดที่ไม่เป็นตัวเงิน (รวมถึงการผลิตสินค้าด้วย ตัวเอง มีความสาคัญอย่างยิ่งในกรณีเศรษฐกิจชนบทที่ด้อยพัฒนา) ควรถูกรวมเข้าไปในรายจ่ายเพื่อการทั้งหมดด้วย แม้ว่าบางครั้งจะไม่ถูกรวม ข้อมูลการสารวจส่วนใหญ่ในปัจจุบันได้รวมการประเมินค่าสาหรับการบริโภคหรือรายได้จาก การผลิตสินค้าด้วยตัวเองแล้ว แต่วิธีการประเมินค่ายังมีความหลากหลาย ระเบียบวิธี วิธีการคานวณ : เพื่อวัดความยากจนแบบข้ามประเทศอย่างสอดคล้องกัน มาตรวัดระดับสากลของธนาคารโลกได้ประยุกต์ใช้มาตรฐาน ร่วมโดยยึดโยงกับความหมายของความยากจนในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุด เส้นความยากจนดั้งเดิมที่ 1 ดอลลาร์สรอ. ต่อวัน อยู่บนฐานของการคานวณรวมเส้นความยากจนระดับชาติของประเทศกาลังพัฒนาเพียง 22 ประเทศ ส่วนใหญ่ มาจากการศึกษาทางวิชาการในทศวรรษที่ 1980 (Ravallion, et al. 1991) แม้ว่านั่นคือสิ่งที่ดีที่สุดที่สามารถทาได้ใน ขณะนั้น กลุ่มตัวอย่างก็ไม่ได้เป็นตัวแทนของประเทศกาลังพัฒนาเท่าใดนักแม้จะเป็นในช่วงทศวรรษที่ 1980 ก็ตาม อย่างไรก็ดีหลังทศวรรษดังกล่าว เส้นความยากจนระดับชาติได้ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศ ซึ่งทา ให้ Ravallion, Chen, และ Sangraula (RCS) (2009) สามารถเสนอเส้นความยากจนสากลเส้นใหม่ที่ 1.25 ดอลลาร์ สรอ. ต่อวันได้ โดยอาศัยชุดข้อมูลเส้นความยากจนระดับชาติสาหรับประเทศกาลังพัฒนา 75 ประเทศ นี่คือค่าเฉลี่ยของ เส้นความยากจนของประเทศที่ยากจนที่สุด 15 ประเทศในชุดข้อมูลดังกล่าว เส้นความยากจนข้นแค้น ในปัจจุบันถูกกาหนดไว้ที่ 1.90 ดอลลาร์สรอ. ต่อวัน ที่ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ ( PPP) ของปีพ.ศ. 2554 ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยของเส้นความยากจนระดับชาติที่พบในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุด 15 ประเทศ เดิมที่จัดลาดับโดยอัตราการบริโภคต่อหัวประชากร เส้นความยากจนใหม่ดังกล่าวยังคงมาตรฐานเดิมของระดับความ ยากจนขั้นรุนแรง – เส้นความยากจนที่พบได้ทั่วไปในประเทศกลุ่มที่จนที่สุดในโลก – แต่อัพเดทโดยใช้สารสนเทศล่าสุด เกี่ยวกับค่าครองชีพในประเทศกาลังพัฒนา

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==