Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

83 ลงทะเบียนต ่ ากว่าความเป็นจริงด้วยวิธีการประมาณการทางอ้อม สาหรับบางประเทศที่ไม่มีข้อมูลอื่นใดที่เชื่อถือได้ วิธีการคานวณเด็กที่รอดชีวิต ( Own-children method) เป็นการประมาณการทางอ้อมที่สามารถให้ข้อมูลอัตราการให้ กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นในแต่ละปีก่อนการสารวจสามะโนประชากรจะเกิดขึ้น หากมีข้อมูลที่หาได้ ภาวะเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 10-14 ปีก็สามารถนามาคานวณได้ ทั้งนี้สามารถศึกษาวิธีวิธีการคานวณแบบต่าง ๆ ได้จากคู่มือในการเก็บข้อมูลการเจริญพันธุ์และการเสียชีวิต United Nations Publication, Sales No. E.03XVII.11 (http://unstats.un.org/unsd/publication/SeriesF/SeriesF_92E.pdf). Indirect methods of estimation are analyzed in Manual X: Indirect Techniques for Demographic Estimation, United Nations Publication, Sales No. E.83.XIII.2. (http://www.un.org/esa/population/publications/Manual_X/Manual_X.htm). การจาแนกข้อมูล: อายุ การศึกษา จานวนบุตรที่มีชีวิต สถานภาพสมรส สถานะทางเศรษฐกิจสังคม ที่อยู่อาศัยตามภูมิศาสตร์ และประเด็น อื่น ๆ ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูลและจานวนที่ศึกษา การจัดการกับข้อมูลที่สูญหาย: ระดับประเทศ ไม่มีการประมาณการข้อมูลให้ประเทศหนึ่ง ๆ หาประเทศนั้นไม่มีข้อมูล ระดับภูมิภาคและระดับโลก การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาคหรือระดับโลกเกี่ยวกับอัตราการให้กาเนิดบุตรของหญิงวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี จากเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลกฉบับล่าสุดที่จัดทาโดยฝ่ายประชากร ในกรณีที่ข้อมูลสูญหายหรือประเมินว่า เป็นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ ค่าประมาณการในแต่ละประเทศหรือพื้นที่สามารถทาได้โดยการตรวจสอบแนวคิดจาก ผู้เชี่ยวชาญและให้น ้ าหนักเชิงวิเคราะห์ต่อการศึกษาดังกล่าว หรือไม่ก็ใช้วิธีการทางสถิติสาหรับข้อมูลในปีที่เพิ่งผ่านไป ไม่นาน หรือการใช้แบบจาลองข้อมูลที่จัดเรียบเรียงให้มีความเป็นกลางเพื่อหลีกเลี่ยงอคติเชิงระบบระหว่างข้อมูล ประเภทต่าง ๆ ดู United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2017). World Population Prospects: The 2017 Revision, Methodology of the United Nations Population Estimates and Projections, Working Paper No. ESA/P/WP.250. https://esa.un.org/unpd/wpp/Publications/Files/WPP2017_Methodology.pdf การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค: อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นที่ได้รับการรายงานทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกมาจากค่าเฉลี่ยการ ประมาณการอัตราการให้กาเนิดบุตรของหญิงวัยรุ่น 2 ช่วง ช่วงละ 5 ปีต่อเนื่องกัน (เช่น สาหรับปีพ.ศ. 2558 ค่าเฉลี่ย จะมาจากช่วงปีพ.ศ. 2553-2558 และช่วงปีพ.ศ. 2558-2563) ตามที่ตีพิมพ์ไว้ใน United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2017). World Population Prospects: The 2017 Revision, DVD Edition. http://esa.un.org/unpd/wpp/

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==