Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

94 PAF=1-PRODUCT (1-PAFi) โดย PAFi คือ PAF ของปัจจัยเสี่ยงแต่ละตัว PAF ของมลพิษในอากาศภายนอกและ PAF ของอากาศภายในครัวเรือนจะประเมินแยกกันโดยยึดเอาจากการประเมิน ความเสี่ยงเปรียบเทียบ ( Ezzati et al, 2002) และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญของ รายงานภาระโรคในระดับโลก ( Global Burden of Disease: GBD) ประจาปี 2010 (Lim et al, 2012; Smith et al, 2014) สาหรับการได้รับมลพิษจากอากาศภายนอก ค่าเฉลี่ยรายปีของอนุภาคฝุ่น PM2.5 ได้ถูกทาเป็นแบบจาลองดังที่อธิบาย ไว้ใน ( WHO 2016, forthcoming) หรือดูจากตัวชี้วัด 11.6.2 สาหรับการได้รับมลพิษทางอากาศภายในครัวเรือน สัดส่วนของประชากรที่ต้องพึ่งเชื้อเพลิงที่ก่อมลพิษในการประกอบ อาหารเป็นหลักมีกาหนดแบบจาลองไว้ในตัวชี้วัด 7.1.2 ( เชื้อเพลิงเป็นพิษ= 1 เชื้อเพลิงสะอาด) รายละเอียดของ แบบจาลองมีเผยแพร่ใน ( Bonjour et al, 2013) มีการใช้ ฟังก์ชั่นการสัมผัส-การตอบสนองแบบบูรณาการ ( the Integrated Exposure-Response Function: IER) ซึ่ง พัฒนาขึ้นสาหรับ GBD 2010 (Burnett et al, 2014) และปรับปรุงเพิ่มเติมสาหรับการศึกษา GBD 2013 (Forouzanfar et al, 2015) ร้อยละของประชากรที่สัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงจาเพาะ (ในที่นี้คือมลพิษทางอากาศโดยรอบ เช่น PM2.5) ถูกจัดทาโดยแต่ ละประเทศโดยการเพิ่มขึ้นเล็กน้อยของ 1 ug / m3 ; ความเสี่ยงสัมพัทธ์จะถูกคานวณสาหรับการเพิ่ม PM2.5 แต่ละ หน่วย โดยอิงตาม IER ความเข้มข้นแบบสวนทางข้อเท็จจริง ( the counterfactual concentration) ถูกเลือกค่าให้อยู่ ระหว่าง 5.6 ถึง 8.8 ug / m3 ตามที่อธิบายไว้ใน ( Ezzati et al, 2002; Lim et al, 2012) สัดส่วนประชากรของประเทศ สาหรับ ALRI, COPD, IHD, โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็งปอด คานวณโดยใช้สูตรต่อไปนี้ PAF=SUM(Pi(RR-1)/(SUM(RR-1)+1) โดยที่ i คือระดับ PM2.5 ใน ug / m3 และ Pi คือร้อยละของประชากรที่สัมผัสกับระดับมลพิษทางอากาศในระดับนั้น และ RR คือค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์ โดยวิธีนี้สามารถใช้คานวณมลพิษทางอากาศในครัวเรือนได้เช่นกัน ดูรายละเอียดได้จาก ( WHO 2014a) การจาแนกข้อมูล: ชุดข้อมูลนาเสนอโดย ประเทศ เพศ โรค และอายุ การจัดการข้อมูลที่สูญหาย: ระดับประเทศ ประเทศที่ไม่มีข้อมูลให้เว้นว่างไว้

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==