Guideline for Child Related SDGs Indicators's Metadata

97 แนวคิด: เพื่อให้เป็นไปตามอานาจที่ได้รับมอบหมายที่ให้องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization: WHO) ให้คาแนะนา แก่ประเทศสมาชิกเกี่ยวกับนโยบายสาธารณสุข WHO ได้ให้คาแนะนาด้านวัคซีนและการฉีดวัคซีนทั่วโลกสาหรับโรคที่ มีผลกระทบด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ โปรแกรมสุขภาพระดับประเทศจะปรับข้อเสนอแนะและพัฒนากาหนดการ การฉีดวัคซีนแห่งชาติ โดยยึดกับการระบาดของโรคในแต่ละท้องที่และตามลาดับความสาคัญด้านสุขภาพแห่งชาติ กาหนดการการฉีดวัคซีนแห่งชาติและจานวนวัคซีนที่แนะนานั้นแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศโดยเฉพาะโปลิโอ DTP และวัคซีนป้องกันโรคหัดที่ใช้ในทุกประเทศ ประชากรเป้าหมายสาหรับแต่ละวัคซีนนั้นกาหนดตามอายุที่มีการเสนอแนะไว้ให้กับหน่วยงานภาครัฐ ชุดการให้วัคซีน หลักสาหรับวัคซีนส่วนใหญ่จะดาเนินการภายในเด็กแรกเกิดถึงสองปี ความครอบคลุมของวัคซีน DTP วัดที่ความแข็งแกร่งของระบบในภาพรวมในการฉีดวัคซีนให้แก่ทารก ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัด วัดความสามารถในการให้วัคซีนต่อเนื่องหลังทารกพ้นวัย 1 ปี ผ่าน บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันตามกาหนด ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ การปรับใช้วัคซีนใหม่ตัวใหม่ให้เด็ก ความครอบคลุมของวัคซีนเอชพีวี ( HPV): การได้รับวัคซีนตามวัฏจักรชีวิต ข้อคิดเห็นและข้อจากัด: เหตุผลในการเลือกวัคซีนชุดหนึ่ง ๆ สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถของโปรแกรมการสร้างภูมิคุ้มกันในการให้บริการ วัคซีนตลอดวัฏจักรชีวิตและเพื่อใช้ในการปรับวัคซีนใหม่ ความครอบคลุมสาหรับวัคซีนตัวอื่น ๆ ที่ WHO แนะนานั้นก็มี และสามารถให้บริการได้ หากวัคซีน HPV นั้นค่อนข้างใหม่และตารางการฉีดวัคซีนแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ การประเมินความครอบคลุม จะทาสาหรับเด็กหญิงที่ได้รับการฉีดวัคซีนเมื่ออายุ 15 ปี และปัจจุบันยังมีข้อมูลจากัดอยู่เพียงไม่กี่ประเทศ จึงจะมีการ จัดทารายงานในภายหลัง ระเบียบวิธี วิธีการคานวณ: องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization: WHO) และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ( United Nations Children’s Fund: UNICEF) ได้ร่วมกันพัฒนาระเบียบวิธีการประมาณการความครอบคลุมการสร้างภูมิคุ้มกันโรคใน ระดับชาติในรูปแบบการให้วัคซีนตามกาหนดตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 ระเบียบวิธีพร้อมแหล่งอ้างอิงถูกตีพิมพ์ ค่าประมาณ การอนุกรมเวลาสาหรับวัคซีนที่แนะนาโดย WHO ถูกผลิตและเผยแพร่เป็นรายปีตั้งแต่ พ.ศ. 2544 ระเบียบวิธีดังกล่าวใช้ข้อมูลที่ถูกรายงานโดยหน่วยงานที่มีอานาจระดับชาติจากระบบการบริหารจัดการของประเทศ และข้อมูลจากการให้วัคซีน หรือการสารวจครัวเรือนแบบพหุดัชนีต่าง ๆ ( multi indicator household surveys) การจาแนกข้อมูล: ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ คือการประเมินในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ และเป็นไปได้ถึงระดับทวีป การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==