Social Indicators 2021

3 กำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงประชำกรไทยในช่วง 30–40 ปี ที่ผ่ำนมำ ส่งผลให้ประเทศไทย เข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุ ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมำ คือมีประชำกรอำยุ 60 ปี ขึ้นไปมำกกว่ำร้อยละ 10 ปัจจัยที่ส่งผลให้จำนวนผู้สูงอำยุเพิ่มมำกขึ้น เนื่องมำจำกอัตรำกำรเจริญพันธุ์ที่ลดลง จำกกำรสำรวจ สถำนกำรณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย สำนักงำนสถิติแห่งชำติ พบว่ำ จำนวนบุตรเฉลี่ยที่สตรีคนหนึ่งจะ มีบุตรได้ตลอดวัยเจริญพันธุ์ลดลงจำก 1.5 คน ในปี 2558 เป็น 1.4 คน ในปี 2562 ซึ่งจะเห็นว่ำ อัตรำเจริญพันธุ์รวม 1.4 นี้ ไม่พอเพียงที่จะทดแทนรุ่นพ่อแม่ในอนำคต นอกจำกนี้ อัตรำกำรมีบุตร ของวัยรุ่นในกลุ่มอำยุ 15-19 ปี ลดลงจำก 51 คน ต่อผู้หญิง 1,000 คน ในปี 2558 เป็น 23 คน ต่อ ผู้หญิง 1,000 คน ในปี 2562 และพบว่ำกำรสมรสของผู้หญิงในกลุ่มอำยุ 20-49 ปี ที่สมรสก่อนอำยุ 18 ปี ลดลงจำกร้อยละ 21.3 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 18.3 ในปี 2562 และเมื่อพิจำรณำอัตรำกำรเกิด พบว่ำ ลดลงจำก 11.2 คน ต่อประชำกร 1,000 คน ในปี 2558 เหลือ 9.3 คน ต่อประชำกร 1,000 คน ในปี 2562 และอัตรำกำรตำยเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จำก 6.9 คน ต่อประชำกร 1,000 คน ในปี 2558 เป็น 7.6 คน ต่อประชำกร 1,000 คน ในปี 2562 ซึ่งอำจเป็นสำเหตุมำจำกกำรเสียชีวิตก่อนวัยอันควร จำกข้อมูลสำมะโนประชำกรและเคหะ พ.ศ. 2553 พบว่ำ ประเทศไทยมีจำนวน ประชำกรผู้ที่มีอำยุ 60 ปีขึ้นไป 8.5 ล้ำนคน หรือคิดเป็นร้อยละ 12.9 ซึ่งหมำยถึงประเทศไทยก้ำวเข้ำ สังคมผู้สูงอำยุแล้ว และจำกกำรคำดประมำณประชำกรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 สำนักงำน สภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ พบว่ำในปี 2583 จะมีผู้สูงอำยุที่มีอำยุมำกกว่ำ 80 ปีขึ้นไป มำกขึ้นถึงร้อยละ 6.1 จำกที่ในปี 2563 มีเพียงร้อยละ 2.6 เท่ำนั้น อันเป็นผลมำจำกควำมก้ำวหน้ำ ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีกำรแพทย์ กำรดูแลเอำใจใส่สุขภำพตนเองมำกขึ้น ที่มำ: 1/คำนวณโดย สำนักงำนสถิติแห่งชำติ จำกข้อมูลทะเบียน กรมกำรปกครอง 2/คำนวณโดย สำนักงำนสถิติแห่งชำติ จำกกำรคำดประมำณประชำกรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 สำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ แผนภูมิ 1.4 สัดส่วนประชากร (อายุ 60 และ 80 ปีขึ้นไป) พ.ศ. 2563 2564 2573 และ 2583

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==