Social Indicators 2021

15 เมื่อพิจารณาอัตราการว่างงาน พบว่า ในระดับอุดมศึกษามีอัตราการว่างงานสูงกว่า ระดับอื่นๆ รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนหนึ่งอาจมาจาก การเลือกเรียนในสายที่ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน หรือเรื่องค่าตอบแทนที่มีความต้องการสูงเกินไป ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีอัตราการว่างงานต่า เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆในโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงสภาพเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางที่ดี แต่หากดูแต่อัตราว่างงานเพียงอย่างเดียวอาจ ไม่เพียงพอให้เห็นภาพรวมของตลาดแรงงานของประเทศได้ เมื่อพิจารณาการทางานต่ากว่าระดับ ประกอบด้วยผู้ที่ทางานต่ากว่าระดับความรู้ คือทางานใช้ความรู้ความสามารถต่ากว่าระดับความรู้ ความสามารถที่ตัวเองมี และผู้ที่ทางานต่ากว่าระดับด้านเวลา คือ ผู้ที่ทางานต่ากว่าระดับเวลาที่ เหมาะสม และผู้นั้นมีเวลาเหลือ และต้องการที่จะทางานเพิ่ม จากปี 2563 เกิดการแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 ทาให้มีผู้ทางานต่ากว่าระดับด้านเวลาเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับปี 2562 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลมากจากการลดชั่วโมงการทางานให้น้อยลง แผนภูมิ 2.6 อัตราการว่างงาน จาแนกตามระดับการศึกษา พ.ศ. 2561 - 2563 ที่มา: สารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส 3 กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2561-2563 สานักงานสถิติแห่งชาติ ตาราง 2.3 ร้อยละของประชากรที่ทางานต่ากว่าระดับด้านเวลา รายเดือน พ.ศ. 2559 - 2563 ที่มา: สารวจภาวะการทางานของประชากร เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559-2563 สานักงานสถิติแห่งชาติ หมายเหตุ: เดือนเมษายน-มิถุนายน พ.ศ. 2563 ไม่สามารถเก็บข้อมูลเป็นรายเดือนได้ เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==