Social Indicators 2021

33 ภาวะโภชนาการของเด็กเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก เมื่อเด็กได้รับ อาหารอย่างเพียงพอ ไม่เจ็บป่วยบ่อยๆ และได้รับการดูแลอย่างดี เด็กจะมีการเจริญเติบโตอย่างสมส่วน และถือว่าได้รับเลี้ยงดูอย่างดี ภาวะพร่องโภชนาการสามารถวัดได้โดยการเปรียบเทียบเด็กกับประชากร อ้างอิงที่มาจากมาตรฐานการเจริญเติบโตขององค์การอนามัยโลก ตัวชี้วัดภาวะโภชนาการทั้ง 3 ตัว คือ น้าหนักเทียบกับอายุ เป็นการวัดภาวะทุพโภชนาการทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง โดยเด็กที่มีน้าหนักเทียบกับอายุห่างจากค่ามัธยฐานของประชากรอ้างอิง ต่ากว่า -2 เท่าของส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ถือว่ามีน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ในระดับปานกลางหรือรุนแรง สาหรับเด็กที่มีน้าหนักเทียบกับ อายุห่างจากค่ามัธยฐานของประชากรอ้างอิง ต่ากว่า -3 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถือว่ามีน้าหนัก น้อยกว่าเกณฑ์ในระดับรุนแรง จากผลการสารวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย ปี 2562 พบว่า เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 7.7 น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ในระดับปานกลางหรือรุนแรง (ต่ากว่า –2SD) โดยเพศชายน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 8.7 ซึ่งมากกว่าเพศหญิงที่มีน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 6.6 และเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 1.6 น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ในระดับรุนแรง (ต่ากว่า -3SD) โดยเพศชาย น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 1.7 ซึ่งมากกว่าเพศหญิงที่มีน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 1.4 ส่วนสูงเทียบกับอายุ เป็นการวัดการเจริญเติบโตเชิงเส้นของเด็ก โดยเด็กที่มีส่วนสูงเทียบ กับอายุห่างจากค่ามัธยฐานของประชากรอ้างอิง ต่ากว่า -2 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จัดว่าเตี้ย สาหรับอายุนั้นๆและอยู่ในประเภทมีภาวะเตี้ยแคระแกร็นในระดับปานกลางหรือรุนแรง สาหรับเด็กที่มี ส่วนสูงเทียบกับอายุห่างจากค่ามัธยฐานของประชากรอ้างอิง ต่ากว่า -3 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถือว่ามีภาวะเตี้ยแคระแกร็นในระดับรุนแรง พบว่า เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 13.3 มีภาวะเตี้ยแคระ แกร็นในระดับปานกลางหรือรุนแรง (ต่ากว่า –2SD) โดยเพศชายมีภาวะเตี้ยแคระแกร็น ร้อยละ 15.2 ซึ่งมากกว่าเพศหญิงที่มีภาวะเตี้ยแคระแกร็น ร้อยละ 11.4 และ เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 4.3 มีภาวะ เตี้ยแคระแกร็นในระดับรุนแรง (ต่ากว่า -3SD) โดยเพศชาย มีภาวะเตี้ยแคระแกร็น ร้อยละ 5.2 ซึ่งมากกว่า เพศหญิงที่มีภาวะเตี้ยแคระแกร็น ร้อยละ 3.3 น้าหนักเทียบกับส่วนสูง สามารถใช้ในการประเมินได้ทั้งภาวะผอมแห้งและภาวะ น้าหนักเกิน โดยเด็กที่มีน้าหนักเทียบกับส่วนสูงห่างจากค่ามัธยฐานของประชากรอ้างอิง ต่ากว่า -2 เท่า ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานถือว่ามีภาวะผอมแห้งในระดับปานกลางหรือรุนแรง สาหรับเด็กที่มีน้าหนัก เทียบกับส่วนสูงห่างจากค่ามัธยฐานของประชากรอ้างอิง ต่ากว่า -3 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถือว่า มีภาวะผอมแห้งในระดับรุนแรง ส่วนเด็กที่มีน้าหนักเทียบกับส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานสูงกว่า +2 ถือว่าเด็กมีภาวะน้าหนักเกินในระดับปานกลางหรือรุนแรง พบว่า เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 7.7 มีภาวะผอมแห้งในระดับปานกลางหรือรุนแรง (ต่ากว่า –2SD) โดยเพศชายมีภาวะผอมแห้ง ร้อยละ 8.2 ซึ่งมากกว่าเพศหญิงที่มีภาวะผอมแห้ง ร้อยละ 7.2 และ เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 2.7 มีภาวะผอมแห้งในระดับรุนแรง (ต่ากว่า -3SD) โดยเพศชาย มีภาวะผอมแห้ง ร้อยละ 2.8 ซึ่งมากกว่า เพศหญิงที่มีภาวะผอมแห้ง ร้อยละ2.6 ในขณะที่ เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ร้อยละ 9.2 มีภาวะน้าหนัก

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==