Report IMD 2019

1-4 1.5 กำรจัดอันดับควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน (1) จ ำนวนประเทศและกำรแบ่งกลุ่มตัวชี้วัดในกำรจัดอันดับ สาหรับปี 2562 (WCY 2019) IMD ได้ สารวจและจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันทั้งหมด 63 เขตเศรษฐกิจทั่วโลกโดยการจัดอันดับประกอบด้วยตัวชี้วัดใน 4 กลุ่มหลัก (Competitiveness Factors) คือ สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) ประสิทธิภาพของภาครัฐ (Government Efficiency) ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ (Business Efficiency) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) โดยแต่ละกลุ่มหลักจะมี 5 กลุ่มย่อย (Sub-factors) และแต่ละกลุ่มย่อย จะมีจ านวนตัวชี้วัด (Criteria) ที่แตกต่างกันไป ที่มำ IMD World Competitiveness Yearbook 2019 ภำพที่ 2 แสดง Factor และ Sub-factor ของ 4 กลุ่มหลักที่ นามาจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน (2) ท ำควำมเข้ำใจสมมติฐำน (Assumptions) ในกำรก ำหนดตัวชี้วัดของ WCY สถาบัน IMD นิยามความสามารถในการแข่งขันว่าเป็น “ความสามารถของประเทศในการสร้ าง และรักษาสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจให้เอื้อต่อการเสริมสร้างและพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของภาค ธุรกิจทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศซึ่งจะ นาไปสู่ความมั่งคั่งในระยะยาว” และได้ กาหนดสมมติฐานในแต่ ละกลุ่มตัวชี้วัด ดังนี้ สมรรถนะทำงเศรษฐกิจ (Economic Performance) เป็นกลุ่มตัวชี้วัด จ านวน 81 รายการ ซึ่ง ประเมินด้านเศรษฐกิจมหภาค ทั้งเศรษฐกิจภายในประเทศ การค้าระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ การ จ้างงาน และค่าครองชีพ ประสิทธิภำพของภำครัฐ (Government Efficiency) เป็นกลุ่มตัวชี้วัด จ านวน 71 รายการ เพื่อแสดงนโยบายภาครัฐที่เอื้อต่อความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชน ได้แก่ การบริหารการเงิน การคลัง นโยบายภาษี และการด าเนินงานของปัจจัยด้านสถาบัน รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจ และกรอบทางด้าน สังคม

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==