Report IMD 2019
1-5 ประสิทธิภำพของภำคธุรกิจ (Business Efficiency) เป็นกลุ่มตัวชี้วัด จ านวน 72 รายการเพื่อศึกษา สภาวะแวดล้อมของประเทศที่เอื้อ อานวยให้องค์กรต่างๆ สามารถด าเนินงานได้ด้วยแนวคิดที่สร้างสรรค์และมีผล กาไรควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ โดยพิจารณาในด้านประสิทธิภาพ ตลาดแรงงาน ตลาดการเงิน ระเบียบวิธีการ ทัศนคติและค่านิยม ในการบริหารจัดการ โครงสร้ำงพื้นฐำน ( Infrastructure) เป็นกลุ่มตัวชี้วัด จ านวน 108 รายการ เพื่อศึกษาโครงสร้าง พื้นฐานต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของภาคธุรกิจทั้งในด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง โครงสร้างทางสุขอนามัยสิ่งแวดล้อม และการศึกษา 1.6 กระบวนกำรเก็บข้อมูลและประมวลผลในกำรจัดอันดับ การจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในปี 2019 ได้วิเคราะห์อันดับประเทศและ ภาคธุรกิจใน 63 เขตเศรษฐกิจทั่วโลก โดยใช้ตัวชี้วัด 332 รายการ ข้อมูลในการ สารวจแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูล ทุติยภูมิ (Hard Data) ของประเทศ ซึ่งใช้ในการประมวลผลการจัดอันดับเป็นสัดส่วน 2 ใน 3 และข้อมูลการ สารวจ ความคิดเห็น (Opinion Survey) ของผู้บริหารในภาคเอกชน 1 ใน 3 ของข้อมูลทั้งหมด ผลจากการ สารวจ ความสามารถในการแข่งขันได้จัดท าเป็น WCY และเผยแพร่ไปทั่วโลก โดยอันดับที่ได้รับในแต่ละปีจะเป็นปัจจัย ประกอบการตัดสินใจของนักลงทุน ทั้งในด้านความก้าวหน้าของการพัฒนาและภาพลักษณ์ของประเทศในด้านต่างๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้สามารถ นาไปใช้วางแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการด าเนินงาน เพื่อยกระดับความสามารถใน การแข่งขันของประเทศต่อไป (1) ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard Data) แต่ละปี IMD จะประสานงานกับ Partner Institutes รวมทั้งองค์กรในประเทศ ภูมิภาค และ องค์กรระหว่างประเทศ เพื่อรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ( Hard Data) สาหรับปี 2019 IMD มีข้อมูลทุติยภูมิ (Hard Data) จ านวน 240 รายการ ข้อมูลดังกล่าวนี้ได้ นามาใช้ในการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของแต่ละ ประเทศในรูปแบบตัวชี้วัด 143 รายการ และอีก 97 รายการ จะเป็นข้อมูลพื้นฐาน (Background) ที่ไม่ได้ นาไปใช้ ค านวณ เป็นเพียงการ นามาใช้ประกอบรายงาน แต่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นคะแนน สาหรับการจัดอันดับ เช่น GDP, Interest payment, M&A Activity (2) ข้อมูลจำกกำรส ำรวจควำมคิดเห็น (Opinion Survey Data) IMD จะด าเนินการ สารวจความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูง ( Executive Opinion Survey: EOS) โดยการ กาหนดจ านวนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละประเทศ ในปี 2019 ข้อมูลจากการ สารวจความคิดเห็น ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่ นามาใช้ในการจัดอันดับ 92 รายการ สาหรับแบบสอบถามในแต่ละปี จะเป็นการถามความคิดเห็น ( Perception) โดยใช้เกณฑ์วัดจาก 0 ถึง 6 และจะ นาคะแนนที่ได้มาแปลงเป็นค่าช่วงข้อมูล 0 - 10 (3) กำรประมวลผลข้อมูลในกำรจัดอันดับ ข้อมูลซึ่งใช้ในการจัดอันดับขีดความสามารถในการแช่งขันของทุกประเทศในปี 2019 ซึ่ง นาเสนอ ใน IMD World Competitiveness Yearbook 2019 เป็นตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 332 รายการ โดยข้อมูลที่ถูก นามาใช้ ค านวณอันดับ ประกอบด้วยข้อมูลทางสถิติ ทุติยภูมิ (Hard Data) จ านวน 143 รายการ ข้อมูลจากการ สารวจความ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==