Report IMD 2019

2-125 หมวด (Factor) : 1. Economic Performance หมวดย่อย (Sub Factor) : : 1.5 Prices ชื่อตัวชี้วัด (Indicator) : 1.5.02 Cost-of-living index ประเภทข้อมูล (Type of Data) : Hard data สาขาสถิติ (Statistical Sector) : Trade and Price รายการคาอธิบาย IMD ประเทศไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แหล่งข้อมูล (Sources) : MERCER Cost of Living survey 2018, www.mercer.com รายงานผลการส ารวจค่าครองชีพปี ค.ศ. 2018 (Cost of Living survey 2017) ของบริษัท Mercer www.mercer.com ส านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า คานิยาม/ คาอธิบาย (Definition/ Description) : Break in series in 2015: In the main city as of 2015, average of main cities in large countries (made by IMD WCC) or in the capital in smaller ones up to 2014. The Mercer survey covers 214 cities across five continents and measures the comparative cost of over 200 items in each location, including housing, transport, food, clothing, household goods and entertainment. It is the world’s most comprehensive cost of living survey and is used to help multinational companies and governments determine compensation allowance for their expatriate employees. ชุดข้อมูลขาดความต่อเนื่องในปี ค.ศ. 2015: ดัชนีของ เมืองส าคัญในประเทศใหญ่เป็นข้อมูล ณ ปี ค.ศ. 2015 ส่วนดัชนีของเมืองหลวงอื่น ๆ เป็นข้อมูล ณ ปี ค.ศ. 2014 การส ารวจของ MERCER ครอบคลุมเมืองทั้งสิ้น 214 เมืองใน 5 ทวีป โดยใช้การวัดและเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่ายในแต่ละพื้นที่ส าหรับรายการใช้จ่ายมากกว่า 200 รายการ ทั้งค่าที่พัก ค่าเดินทาง อาหาร เครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ในครัวเรือน และค่าสิ่งพักผ่อน หย่อนใจ จึงนับเป็นการส ารวจค่าครองชีพที่ครบถ้วน สมบูรณ์ที่สุด ทั้งนี้ รัฐบาลและบรรษัทข้ามชาติจานวน มากใช้ผลส ารวจนี้คานวณค่าตอบแทนของลูกจ้าง จาก ค่าที่พักอาศัยเป็นปัจจัยส าคัญที่กาหนดว่าเมืองนั้น ๆ จะอยู่ในลาดับที่เท่าใด แต่ไม่สามารถเปรียบเทียบข้อมูล ค่าครองชีพ หมายถึง การวัดการเปลี่ยนแปลงในราคา ขายปลีกสินค้า ค่าเช่า และการบริการ ซึ่งจ่ายโดย ครอบครัวของผู้ทางานซึ่งรับค่าจ้าง หรือผู้ที่ ทางาน เงินเดือนต่า รู้จักกันอย่างกว้างขวางทั่ว ๆ ไปว่า “ดัชนี ราคา” จัดทาขึ้นโดยส านักงานสถิติแรงงานทุกเดือน (กรณีของประเทศไทย - กระทรวงพาณิชย์เป็นผู้จัดทา และเผยแพร่) เพื่อชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงค่าครอง ชีพในเมืองใหญ่ ๆ โดยเฉลี่ย ถ้าจะเรียกให้ถูกต้องเป็น ทางการก็ต้องเรียกว่า "ดัชนีราคาอุปโภคบริโภค" (ที่มา : http://www.mol.go.th/anonymouse/ content/wordsaboutworkers ดัชนีราคาค่าครอง ชีพ)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==