Report IMD 2019

2-126 รายการคาอธิบาย IMD ประเทศไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ระหว่างปีได้ (จากความผันผวนของปริมาณเงินในปี ค.ศ. 2010 และ ค.ศ. 2011) วิธีการคานวณ (Method of Measurement) : Index of a basket of goods & services in the main city, including housing (New York City = 100) ไม่พบรายละเอียด ไม่พบรายละเอียด หน่วยนับ (Unit) : Index ดัชนี ไม่พบรายละเอียด ข้อมูลล่าสุด 5 ปี 2015 : 79.30 (อ้างอิงปี 2014) Rank : 26/61 2016 : 82.00 (อ้างอิงปี 2015) Rank : 42/61 2017 : 75.00 (อ้างอิงปี 2016) Rank : 36/63 2018 : 77.20 (อ้างอิงปี 2017) Rank : 36/63 2019 : 83.60 (อ้างอิงปี 2018) Rank : 39/63 ไม่พบรายละเอียด หมายเหตุ  “ค่าครองชีพ” ของสถาบัน IMD นั้น เป็นการส ารวจค่าใช้จ่ายขั้นพื้นฐานของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ของแต่ละประเทศ โดยเทียบกับ New York ของประเทศ สหรัฐอเมริกา (เมืองฐาน) ซึ่งในการส ารวจของ Mercer เก็บรวบรวมข้อมูลของประเทศไทย ณ กรุงเทพมหานคร  จากนิยาม “ค่าครองชีพ” ในที่นี้ก็คือ “ดัชนีราคา” ซึ่งสานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เป็นผู้จัดทา โดยค่าตัวเลขที่ใช้เป็น “ดัชนีราคาผู้บริโภคของ กรุงเทพมหานคร” เพื่อให้สอดคล้องกับการส ารวจของ Mercer แต่ไม่ได้เทียบกับ New York  ส านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้าเผยแพร่ข้อมูลเป็นรายเดือน http://www.price.moc.go.th/price/cpi/index_new.asp

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==