Report IMD 2019

5-113 รายการคาอธิบาย IMD ประเทศไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย จากัดในแต่ละแหล่งน้า ดังนั้น การบาบัดน้าเสียจึงเป็น กลไกส าคัญอันหนึ่งที่จะช่วยลดภาระของแหล่งน้าใน การทาความสะอาดตัวเองตามธรรมชาติและช่วย ป้องกันมิให้สารมลพิษปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้าดิบในการ ผลิตน้าประปา วิธีการคานวณ (Method of Measurement) : Percentage of population served ไม่พบรายละเอียด ไม่พบรายละเอียด หน่วยนับ (Unit) : Percent ร้อยละ ไม่พบรายละเอียด ข้อมูลล่าสุด 5 ปี 2018 : 9.00 (อ้างอิงปี 2016) Rank : 47/63 2019 : 8.30 (อ้างอิงปี 2017) Rank : 47/63 ไม่พบรายละเอียด หมายเหตุ  ประเทศไทยเริ่มมีข้อมูลในปี 2018 1. ชื่อตัวชี้วัดพูดถึงระบบบาบัดน้าเสีย แต่หน่วยนับคือ ร้อยละของประชากรที่เข้าถึง ดังนั้น ตัวชี้วัดนี้น่าจะเป็นร้อยละของประชากรที่เข้าถึงระบบบาบัดน้าเสีย 2. ระบบบาบัดน้าเสียของชุมชนรวมทั้งประเทศ (รวมกทม.) 107 แห่ง (องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น. และกรุงเทพมหานคร) 3. ความสามารถในการบาบัดน้าเสียในภาพรวมทั้งประเทศ (ไม่รวมของภาคเอกชน) อีกประมาณ 30% 4. ยังไม่มีการคานวณ ร้อยละของประชากรที่เข้าถึงระบบบาบัดน้าเสีย ซึ่งจะต้องมีการพิจารณาถึง ขอบเขตของประชากรที่เข้าถึงระบบบาบัด นั้นเป็นอย่างไร ข้อสังเกตจากกรมควบคุมมลพิษ  น้าเสีย มี 3 ส่วน น้าเสียชุมชน ภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ซึ่งข้อมูลภาคเกษตรกรรม เก็บรวบรวมข้อมูลยากเนื่องจากไม่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล (ไม่ให้ความ ร่วมมือหรือปกปิด) ส่วน ภาคอุตสาหกรรม แม้จะมีกฎหมายบังคับใช้ แต่ก็มีสถานประกอบการรายงานข้อมูลน้อยมาก  สถานการณ์ระบบบาบัดน้าเสียรวมของประเทศไทย มีการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียที่เกิดขึ้นจากชุมชนในปัจจุบัน (ข้อมูล ณ ปี พ.ศ.2558) มีประมาณ 9.5 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครและเมืองท่องเที่ยวที่มีความหนาแน่นของประชากรสูง แต่ที่ผ่านมารัฐบาลจัดสรรงบประมาณ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==