Report IMD 2019

5-121 รายการคาอธิบาย IMD ประเทศไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย 2019 : 594.00 (อ้างอิงปี 2016) Rank : 50/63 หมายเหตุ  ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้วิธีการคานวณตามคู่มือ IPCC 1996 และคู่มือ IPCC 2006 จาแนกตามภาคกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ ภาคพลังงาน ภาคกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม ภาคเกษตร ภาคการใช้ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและป่าไม้ และภาคของเสีย ซึ่งมีหลายด้านมากกว่าของ IMD ที่ครอบคลุมเพียง 2 ด้าน คือ ด้านพลังงาน และด้านของเสียจากภาคอุตสาหกรรมและชุมชน  ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่งข้อมูล CO 2 emissions ของประเทศให้กับ UNFCCC ในนามรายงานความก้าวหน้าราย 2 ปี ภายใต้ อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ฉบับที่ 1 ข้อมูลปี 2554 เผยแพร่ ธ.ค.2558)  การรายงานข้อมูล CO2 Emission เคยมีเผยแพร่อยู่ในเว็บไซต์ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ซึ่งคานวณ และมีในรายงานความก้าวหน้า ราย 2 ปี ที่ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นาเสนอต่อ UNFCCC ซึ่งเป็นการรายงานซ้าซ้อนกัน ปัจจุบัน (2560) มีการตกลงกันภายใน กระทรวงทรัพยากรฯ ให้ ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นผู้รับผิดชอบข้อมูลนี้ เพื่อให้ข้อมูลเป็นทางการ และเผยแพร่เพียงจุดเดียว  แต่ในส่วนของกระทรวงพลังงาน ยังคงนาเสนอข้อมูลในภาคพลังงานเนื่องจากเป็นภารกิจของกระทรวง แต่ CO2 ในภาคพลังงานของประเทศไทย อาจไม่ครอบคลุม ทั้งหมด เช่น การรั่วไหล หรือการปล่อยจากโรงกลั่น หรือโรงแยกก๊าซที่ขนาดไม่ใหญ่มาก แต่ตัวเลขใกล้เคียงกับ IMD  องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกเผยแพร่สถานการณ์ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศในรูปแบบกราฟเป็นรายเดือนและรายปีที่หน้า เว็บไซต์  นิยามใกล้เคียงกัน แต่ IMD นามาเฉพาะภาคพลังงาน และภาคของเสียในส่วนของชุมชนและอุตสาหกรรม ตามข้อมูลของ IEA

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==