Statistical Yearbook Thailand 2012

การจัดการศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน อาจจัดเป นการศึกษาประเภทต าง ๆ ได ตามความเหมาะสม และตาม ความต องการของกลุ มเป าหมาย ชุมชน และประเทศ เช น การฝ กหัดครู การศึกษาวิชาชีพ การศึกษาวิชาชีพพิเศษ การศึกษาวิชาชีพเฉพาะกิจหรือเฉพาะบุคคลบางกลุ ม การศึกษาพิเศษ และการศึกษาของภิกษุ สามเณร นักบวช และ บุคลากรทางศาสนา เป นต น การจัดการศึกษาประเภทต าง ๆ เหล านี้ ไม เพียงแต จัดตามความเหมาะสม หรือเพื่อสนองความต องการเฉพาะของ กลุ มเป าหมาย แต ยังต องคํานึงถึงการให บุคคลได พัฒนาทั้งในด านคุณธรรม ความรู ความสามารถ และทักษะอย างสมดุล ควบคู กันไปด วย ในป การศึกษา 2542 ระบบการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห งชาติ พุทธศักราช 2542 กําหนดให ประชาชนทุกคนมีสิทธิได รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม น อยกว า 12 ป โดยไม เก็บค าใช จ าย และได กําหนดให มีการศึกษาภาคบังคับ จํานวน 9 ป ( ประถมศึกษาป ที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาป ที่ 3 ) จากเดิมที่กําหนดไว แค 6 ป ตามพระราชบัญญัตินี้ ได จัดการศึกษาเป น 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย การศึกษาในระบบ มี 2 ระดับ 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด วย การศึกษาก อนระดับอุดมศึกษา ซึ่งแบ งออกเป น 3 ระดับ คือ ระดับก อน ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ งเป น 2 ระดับ คือ ระดับต่ํากว าปริญญาตรี และระดับปริญญา ในป พ . ศ . 2512 ได กําหนดพระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ . ศ . 2512 เพื่อให เหมาะสมกับสภาวะทางสังคม อนุญาตให เอกชนจัดตั้งสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาได ต อมาได มีการปรับปรุงกฎหมายว าด วยวิทยาลัยเอกชน ตาม พ . ร . บ . 2522 และ พ . ร . บ . 2535 เฉพาะบางมาตรา และเพื่อความเหมาะสมแก สถานการณ ป จจุบัน จึงประกาศใช พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ . ศ . 2546 และยกเลิก พ . ร . บ . สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ . ศ . 2522 และ พ . ร . บ . สถาบันศึกษาเอกชน ( ฉบับที่ 2) พ . ศ . 2535 แต สถาบันอุดมศึกษาเอกชนยังคงมี 3 ประเภทคือ มหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย สถิติในระดับอุดมศึกษา ได จากสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา โดยได แสดงสถานภาพของจํานวนนิสิต นักศึกษา ผู สําเร็จการศึกษา อาจารย และรายละเอียดอื่น ๆ ทั้งนี้ ไม รวมโรงเรียนนายร อยพระจุลจอมเกล า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ โรงเรียนนายร อยตํารวจ และสถาบันเทคโนโลยีแห งเอเชีย ศาสนา ได ข อมูลจาก สํานักงานพระพุทธศาสนาแห งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี ศาสนา ประชาชนของประเทศไทยมีสิทธิและเสรีภาพในการนับถือศาสนา ศาสนามีส วนสัมพันธ ใกล ชิดกับวัฒนธรรม ในฐานะที่ศาสนาเป นหลักยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณของคนในชาติ และมีบทบาทสําคัญยิ่งในการส งเสริมวัฒนธรรมที่ให คุณค าแก การทําคุณงามความดี การดํารงชีวิตโดยใช หลักคุณธรรมและจริยธรรม บุคลากรทางศาสนามีบทบาทสําคัญใน การชี้แนะอบรมสั่งสอนให เด็ก และเยาวชนได ศึกษาหลักธรรมของศาสนา สถิติการศึกษา การฝ กอบรม ศาสนา และวัฒนธรรม รวมถึงสถิติสื่อสารมวลชน 84

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==