Statistical Yearbook Thailand 2013

สถิติการศึกษา การฝ กอบรม ศาสนา และวัฒนธรรม รวมถึงสถิติสื่อสารมวลชน สถิติการศึกษาที่เสนอในบทนี้ได มาจาก สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ แผนการศึกษาแห งชาติ ฉบับ พ . ศ . 2494 จัดให มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา 4 ป และระดับมัธยมศึกษา ตอนต นแบ งออกเป น 3 สาย คือ สายวิสามัญ สายสามัญ และอาชีวศึกษา แต ละสายมี 3 ป ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดให มีเฉพาะสายวิสามัญและอาชีวศึกษา เมื่อสําเร็จแล วอาจจะเข าศึกษาต อในระดับเตรียมอุดมศึกษาอีก 2 ป หรือ อาชีวชั้นสูง ซึ่งเป นแนวทางในการศึกษาชั้นอุดมศึกษาต อไป นอกจากนี้ยังบัญญัติเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ การศึกษาผู ใหญ และการศึกษาชั้นอุดมศึกษาเพิ่มเติมด วย แผนการศึกษาแห งชาติ ฉบับ พ . ศ . 2503 ได เปลี่ยนระบบการศึกษาจากเดิม โดยจัดให มี การศึกษาในระดับ ประถมศึกษา 7 ป เป นประถมศึกษาตอนต น 4 ป และตอนปลาย 3 ป ระดับมัธยมศึกษาแบ งเป น 2 สาย คือ สายสามัญ และ สายอาชีพ สายสามัญแบ งเป นมัธยมศึกษาตอนต น 3 ป และตอนปลาย 2 ป สายอาชีพแบ งเป นมัธยมศึกษาตอนต นและ ตอนปลาย แต ละตอนอาจจัดเป น 1 ป 2 ป หรือ 3 ป โดยคํานึงถึงลักษณะวิชาชีพเป นสําคัญ แผนการศึกษาแห งชาติ ฉบับ พ . ศ . 2520 แบ งการศึกษาออกเป น 4 ระดับ คือ ระดับก อนประถมศึกษา ระดับ ประถมศึกษา 6 ป ระดับมัธยมศึกษา แบ งเป นมัธยมศึกษาตอนต น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ตอนละ 3 ป และ ระดับอุดมศึกษา สําหรับแผนการศึกษาแห งชาติ พุทธศักราช 2535 จะเป ดโอกาสให บุคคลได เรียนรู อย างต อเนื่องตลอดชีวิต โดย อาศัยรูปแบบต าง ๆ ทั้งการศึกษาที่จัดตามแนวระบบโรงเรียน และการศึกษาที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู ในวิถีชีวิต การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน แบ งระดับการศึกษาเป น 4 ระดับ คือ ระดับก อนประถมศึกษา ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ระดับก อนประถมศึกษา เป นการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดู และพัฒนาความพร อมของเด็กทั้งทาง ร างกาย จิตใจ สติป ญญา อารมณ บุคลิกภาพ และสังคม เพื่อรับการศึกษาในระดับต อไป ระดับประถมศึกษา เป นการศึกษาที่มุ งวางรากฐาน เพื่อให ผู เรียนได พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค ทั้งในด าน คุณธรรม จริยธรรม ความรู และความสามารถขั้นพื้นฐาน และให สามารถคงการอ านออก เขียนและคํานวณได ระดับมัธยมศึกษา แบ งออกเป น 2 ตอน คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - ระดับมัธยมศึกษาตอนต น เป นการศึกษาที่มุ งส งเสริมให ผู เรียนได พัฒนาคุณธรรม ความรู ความสามารถและ ทักษะต อจากระดับประถมศึกษา ให ผู เรียนได ค นพบความต องการ ความสนใจ และความถนัดของตนเองทั้งในด านวิชาการ และวิชาชีพ ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบการงาน และอาชีพตามควรแก วัย - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป นการศึกษาที่มุ งส งเสริมให ผู เรียนได ศึกษาตามความถนัดและความสนใจเพื่อ เป นพื้นฐานสําหรับการศึกษาต อในระดับอุดมศึกษา หรือเพื่อให เพียงพอแก การประกอบการงาน และอาชีพที่ตนถนัดทั้งอาชีพ อิสระและรับจ าง รวมทั้งส งเสริมให ผู เรียนได พัฒนา คุณธรรม จริยธรรม และทักษะทางสังคมที่จําเป นสําหรับการ ประกอบการงานและอาชีพ และการอยู ร วมกันในสังคมอย างมีสันติสุข ระดับอุดมศึกษา เป นการศึกษาหลังระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ งเป น 3 ระดับ คือ การศึกษาระดับต่ํากว า ปริญญาตรี การศึกษาระดับปริญญาตรี และการศึกษาระดับสูงกว าปริญญาตรี

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==