Statistical Yearbook Thailand 2013

การอ านหนังสือของเด็กเล็ก หมายถึง การอ านหนังสือของเด็กเล็กที่อ านในช วงนอกเวลาเรียนด วยตัวเอง และรวมทั้ง ที่ผู ใหญ อ านให ฟ งด วย การอ านหนังสือ หมายถึง การอ านหนังสือทุกประเภทนอกเวลา เรียน / นอกเวลาทํางาน แต รวมการอ านในช วงเวลา พักการอ านหนังสือรวมทั้งการอ านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส อื่น ๆ เช น อินเทอร เน็ต ซีดี e-book reader ฯลฯ ยกเว น SMS หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) ศาสนา ได ข อมูลจาก สํานักงานพระพุทธศาสนาแห งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี ศาสนา ประชาชนของประเทศไทยมีสิทธิและเสรีภาพในการนับถือศาสนา ศาสนามีส วนสัมพันธ ใกล ชิดกับวัฒนธรรม ในฐานะที่ศาสนาเป นหลักยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณของคนในชาติ และมีบทบาทสําคัญยิ่งในการส งเสริมวัฒนธรรมที่ให คุณค าแก การทําคุณงามความดี การดํารงชีวิตโดยใช หลักคุณธรรมและจริยธรรม บุคลากรทางศาสนามีบทบาทสําคัญใน การชี้แนะอบรมสั่งสอนให เด็ก และเยาวชนได ศึกษาหลักธรรมของศาสนา วัฒนธรรม วัฒนธรรมที่เจริญรุ งเรืองเป นแบบแผน และเอกลักษณ ประกอบด วยศาสนา ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม หัตถกรรม นาฏศิลป ดนตรี ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี ที่เป นแบบอันดีงามเป นมรดกตกทอดจากอดีตจวบ จนป จจุบัน การดําเนินงานด านวัฒนธรรมของชาติมีการพัฒนาปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงมาหลายยุค วัฒนธรรมจะดํารงคงอยู ยืนยาว เอกลักษณ ความเป นไทยและสามารถปรับให เข ากับกาลสมัยได เพียงใด ขึ้นอยู กับทุกคนในชาติ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานะ ทางสังคม ลิขสิทธิ์ เป นการจดแจ งลิขสิทธิ์ ของผลงานทางด านบทประพันธ ตํารา ซึ่งล วนแล วแต เป นการค นคิดและ การสร างสรรค เพื่อเป นการครอบครองกรรมสิทธิ์ทางกฎหมาย ได รับข อมูลจาก กรมทรัพย สินทางป ญญา กระทรวง พาณิชย โดยได รวบรวมข อมูลสถิติลิขสิทธิ์ ทางด านวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง แพร เสียง แพร ภาพ เป นต น การสํารวจสภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม สํานักงานสถิติแห งชาติเป นผู จัดทํา เพื่อให ทราบถึงสภาพ สังคมไทยเกี่ยวกับพฤติกรรม ค านิยม วัฒนธรรมและการตระหนักและเห็นคุณค าผู สูงอายุ สําหรับนําไปใช ในการติดตาม และ ประเมินสถานการณ และทิศทางการเปลี่ยนแปลงของสังคม และให หน วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข องนําไปกําหนดนโยบาย และวางแผนในการแก ป ญหาสังคมในอนาคต โดยคุ มรวมการสํารวจ คือ สมาชิกทุกคนในครัวเรือนส วนบุคคลที่ตกเป นตัวอย าง ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลในทุกจังหวัดของประเทศไทย ไม รวมครัวเรือนพิเศษ ครัวเรือนสถาบัน และครัวเรือนชาว ต างประเทศที่ทํางานในสถานทูตหรือองค การระหว างประเทศที่มีเอกสิทธิ์ทางการทูต สถิติเกี่ยวกับความต องการพัฒนาขีดความสามารถของประชากร สํานักงานสถิติแห งชาติ เป นผู จัดทํา โดย จัดทําครั้งแรกใน พ . ศ . 2538 และเพื่อให มีข อมูลที่ต อเนื่อง ตั้งแต ป พ . ศ . 2544 จึงได ดําเนินการสํารวจทุกป ซึ่งผลการสํารวจ ทําให ทราบความต องการพัฒนาขีดความสามารถของผู อยู ในกําลังแรงงาน และนอกกําลังแรงงาน หลักสูตรที่ต องการได รับ การพัฒนาขีดความสามารถ ตลอดจนความต องการได รับการช วยเหลือจากภาครัฐของผู ว างงาน 89 Education, Training, Religious and Culture Statistics Including Mass Communication Statistics

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==