Statistical Yearbook Thailand 2013

สถิติสวัสดิการสังคม สถิติสวัสดิการสังคมที่เสนอในบทนี้ ได ข อมูลมาจาก สํานักงานสถิติแห งชาติ สํานักงานธนานุเคราะห กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และ สํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ภาครัฐและเอกชนในประเทศต างๆ ได ให ความสําคัญ ในเรื่องสวัสดิการ เพื่อช วยเหลือผู ด อยโอกาสทั้งทางด าน เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะเห็นได จากนโยบายของประเทศส วนใหญ จะมีสวัสดิการสังคมภายใต ความคุ มครองดูแลของรัฐบาล ดังนั้น ข อมูลสถิติเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมจะสะท อนการมีส วนร วมของทุกฝ ายเป นอย างดี ข อมูลสถิติที่นําเสนอในบทนี้จะ เกี่ยวกับสวัสดิการสังคมที่ให ความช วยเหลือแก ประชาชน เช น สวัสดิการค ารักษาพยาบาล การรับจํานําทรัพย สิน สิ่งของ ในอัตราดอกเบี้ยต่ํา และการประกันตน เป นต น สถิติการสํารวจอนามัยและสวัสดิการ สํานักงานสถิติแห งชาติ ได จัดเก็บข อมูลด านอนามัยและสวัสดิการอย าง ต อเนื่องมาตั้งแต ป พ . ศ . 2517 และการสํารวจป 2554 เป นการสํารวจครั้งล าสุด ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อรวบรวมข อมูล ของประชากรเกี่ยวกับการได รับสวัสดิการค ารักษาพยาบาล ภาวะการเจ็บป วย การเข ารับบริการด านสาธารณสุข ค าใช จ ายใน การรับบริการด านสาธารณสุข และการเข าถึงสวัสดิการค ารักษาพยาบาลของประชากร เป นต น สถิติทรัพย จํานํา ไถ ถอน และทรัพย หลุดจํานํา เป นข อมูลที่ได รับจากสํานักงานธนานุเคราะห ที่แสดงถึงทรัพย รับจํานํา ทรัพย ไถ ถอน ทรัพย หลุดจํานํา ทรัพย หลุดจํานํา หมายถึง ทรัพย จํานําที่ผู จํานําขาดส งดอกเบี้ยติดต อกันเป นเวลาเกินกว า 4 เดือน และไม ได ถอน คืนภายในกําหนดระยะเวลา 30 วัน นับตั้งแต วันที่สถานธนานุเคราะห ประกาศบัญชีทรัพย หลุดจํานําที่ผู จํานําขาดส งดอกเบี้ย ทรัพย จํานํานั้นจะหลุดเป นสิทธิ์ของสถานธนานุเคราะห ประกันสังคม เป นข อมูลที่ได รับจากสํานักงานประกันสังคม ที่แสดงถึง จํานวนสถานประกอบการ จํานวน ผู ประกันตน ( ตามมาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40) และจํานวนการใช บริการของผู ประกันตนในแต ละกรณี ซึ่ง สํานักงานประกันสังคมได มีการจําแนกเป น 7 กรณี ดังนี้ กรณีเจ็บป วย กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีสงเคราะห บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว างงาน สถานประกอบการของผู ประกันตน หมายถึง สถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมและบริการที่มีลูกจ างตั้งแต 1 คนขึ้นไป ณ วันขึ้นทะเบียนประกันสังคม ยกเว นกิจการเพาะปลูก ประมง ป าไม และเลี้ยงสัตว ซึ่งมิได ใช ลูกจ างตลอดป และ ไม มีงานลักษณะอื่นรวมอยู ด วย จํานวนสถานประกอบการสํานักงานใหญ และสํานักงานสาขาจะนับแยกแต ละแห ง ( กรณีที่ แยกเป นรายจังหวัดจะคํานึงถึงสถานีที่ตั้งของสถานประกอบการเป นหลัก ) ผู ประกันตนตามมาตรา 33 หมายถึง ผู ซึ่งขึ้นทะเบียนประกันสังคม และหรือจ ายเงินสมทบอันก อให เกิดสิทธิได รับ ประโยชน ทดแทน ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ . ศ . 2533 และที่แก ไขเพิ่มเติม ผู ประกันตนตามมาตรา 39 หมายถึง ผู ซึ่งเคยเป นผู ประกันตนตามมาตรา 33 และต อมาความเป นผู ประกันตนได สิ้นสุดลงตามมาตรา 38(2) คือ สิ้นสภาพการเป นลูกจ างและได แจ งความประสงค เป นผู ประกันตนต อ ผู ประกันตนตามมาตรา 40 หมายถึง ผู ที่มิใช ลูกจ างตามมาตรา 33 และประสงค จะสมัครเข าเป นผู ประกันตนตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ . ศ . 2533

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==