Statistical Yearbook Thailand 2013

สถิติรายได และรายจ ายของครัวเรือน สถิติรายได และรายจ ายของครัวเรือน ที่นําเสนอในบทนี้ ได มาจากสํานักงานสถิติแห งชาติ สํานักงานสถิติแห งชาติ ได เก็บรวบรวมข อมูลเกี่ยวกับรายได และรายจ ายของครัวเรือนมาตั้งแต ป 2500 เดิมใช ชื่อว า การสํารวจรายการใช จ ายของครอบครัว ต อมาในป 2511 – 2512 เปลี่ยนชื่อเป นการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม ของครัวเรือน โดยทําการสํารวจทุกระยะ 5 ป จนถึงป 2529 เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัว อย าง รวดเร็ว เพื่อให รัฐบาลนําข อมูลไปใช เป นแนวทางในการกําหนดนโยบายแก ป ญหาความยากจน จึงได ให ทําการสํารวจทุก 2 ป สําหรับป 2542 และป 2544 สํานักงานสถิติแห งชาติ ได ดําเนินการสํารวจเป นกรณีพิเศษในภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ เพื่อให มีข อมูลตัวชี้วัดผลกระทบจากภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ที่มีต อสภาพความเป นอยู ของประชากร และตั้งแต ป 2549 สํานักงาน สถิติแห งชาติ ทําการสํารวจทุกป ทั้งนี้ในป ที่เป นเลขคู จะจัดทําทั้งรายได ค าใช จ าย และหนี้สิน สําหรับป ที่เป นเลขคี่จะจัดทําเฉพาะ ค าใช จ าย การสํารวจนี้ คุ มรวมครัวเรือนส วนบุคคล ทั้งที่อยู ในเขตเทศบาล เเละนอกเขตเทศบาล ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ไม รวมบุคคลที่พักอยู ในโรงแรม หอพัก โรงเรียนประจํา วัด กรมกองทหาร เรือนจํา สถานสงเคราะห โรงพยาบาล สถาบัน อื่นๆประเภทเดียวกันนี้ และครัวเรือนทูต ผู แทนต างประเทศ และผู อยู อาศัยในประเทศไทยชั่วคราว ค าใช จ ายของครัวเรือน หมายถึง การใช จ ายเกี่ยวกับ “ สิ่งของหรือการบริการด านต าง ๆ ” ที่จําเป นต อการ ครองชีพที่ครัวเรือนต องซื้อ / จ ายด วยเงิน หรือได มาโดยไม ได ซื้อ / จ าย ( ผลิตเอง ได รับความช วยเหลือจากบุคคลอื่น รัฐเป น สวัสดิการจากการทํางาน หรือเบิกได จากนายจ าง ) ประกอบด วย ค าใช จ ายเพื่อการอุ  า  จ าื่ อุ ปโภคบริโภค ปิ โ เช น ที่อยู อาศัย เครื่องแต ง บ าน เครื่องใช เบ็ดเตล็ด เสื้อผ า เครื่องแต งกาย รองเท า ของใช / บริการส วนบุคคล เวชภัณฑ และค ารักษาพยาบาล การเดินทาง การศึกษา การบันเทิง การอ าน และกิจกรรมทางศาสนา ค าใช จ ายที่ไม เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค  า  จ าี่ ไ  เี่ ยั บุ ปิ โ เช น ค าภาษี ของขวัญ และเงินบริจาค ค าเบี้ยประกันภัย ค าสลากกินแบ ง ดอกเบี้ยจ าย และค าใช จ ายอื่นๆ ที่ไม เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค และ ค าใช จ ายอาหาร  า  จ า เครื่อื่องดื่มมื่ และยาสูบบู ได แก อาหารทุกประเภท ( อาหารสด อาหารแห ง อาหารสําเร็จรูป เครื่องปรุงรส ฯลฯ ) เครื่องดื่ม ( มี / ไม มี แอลกอฮอล ) และยาสูบ ( ยาเส น ยาฉุน หมาก ยานัตถ ฯลฯ ) ทั้งนี้ ค าใช จ ายของครัวเรือน ไม รวม รายจ ายเพื่อการออมและสะสมทุน เช น เช าซื้อบ าน ที่ดิน ของมีค าต าง ๆ และ การประกันชีวิตประเภทสะสมทรัพย เงินสมทบกองทุนต างๆ เช น กองทุนบําเหน็จบํานาญข าราชการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เป นต น รายได ของครัวเรือน หมายถึง “ เงินหรือสิ่งของ ” ที่ครัวเรือนได รับมาจากการทํางานหรือผลิตเอง หรือจาก ทรัพย สินหรือได รับความช วยเหลือจากผู อื่น ประกอบด วย รายได  ปํประจําา ได แก รายได ที่เกิดจาการทํางานหรือผลิตเอง เช น ค าจ างและเงินเดือน กําไรสุทธิจากการทําธุรกิจ กําไรสุทธิจากการทําการเกษตร เป นต น รายได จากแหล งอื่น ๆ ที่ไม ใช จาก การทํางาน เช น เงินบําเหน็จ / บํานาญ เงินประโยชน ทดแทนต าง ๆ เงินชดเชยการออกจากงาน เงินและสิ่งของที่ได รับความ ช วยเหลือจากบุคคลภายนอกครัวเรือน / รัฐ / องค การต าง ๆ ค าเช าที่ดิน บ าน ดอกเบี้ย การซื้อขายหุ น เงินป นผล เป นต น ( รวม ค าประเมินค าเช าบ านที่ครัวเรือนเป นเจ าของและอยู เอง หรือที่อยู อาศัยที่บุคคลอื่นให อยู ฟรี ) และรายได ไม ประจํา  ไ  ปํ า ได แก เงินที่ได รับเป นเงินรางวัล เงินถูกสลาก กินแบ ง เงินมรดก ของขวัญเงินได รับจากการประกันสุขภาพ อุบัติเหตุ ไฟไหม หรือ ค า นายหน า ( ในกรณีที่ไม ได ประกอบเป นธุรกิจ ) และรายรับอื่นๆ ในประเภทเดียวกัน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==