Statistical Yearbook Thailand 2013

สถิติการเกษตร การป าไม และการประมง สถิติการเกษตร ได มาจาก สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ เนื่องจากประเทศไทยเป นประเทศเกษตรกรรม การเกษตรเป นอาชีพหลักของประชากร และผลิตผลทางการเกษตรเป น สินค าออกที่สําคัญ ด วยเหตุนี้ รัฐบาลจึงได กําหนดนโยบายที่จะพัฒนาการเกษตรไว ทุกด าน มีการส งเสริมการเกษตร ให เจริญก าวหน าและเร งรัดผลผลิตให มีปริมาณและคุณภาพดีขึ้น เพื่อใช ในการบริโภค การอุตสาหกรรม และการส งออก สถิติการป าไม ได ข อมูลมาจากกรมป าไม และกรมอุทยานแห งชาติ สัตว ป า และพันธุ พืช กระทรวงทรัพยากร - ธรรมชาติและสิ่งแวดล อม เนื้อที่ป า หมายถึง เนื้อที่ป าชนิดต าง ๆ ได แก ป าดงดิบ ป าสน ป าชายเลน ป าเบญจพรรณ ป าเต็งรัง ป า เต็งรังแคระแกร็น ป าพรุ และป าชายหาด เป นต น ไม ว าจะอยู ในเขตป าสงวนแห งชาติ อุทยานแห งชาติ เขตรักษาพันธุ สัตว ป า ป า โครงการ และพื้นที่ที่ใหญ กว า 5 เฮกตาร (31.25 ไร ) โดยมีเรือนยอดต นไม สูงอย างน อย 5 เมตร ปกคลุมมากกว า 10% ของ พื้นที่ ตามนโยบายการป าไม แห งชาติได กําหนดไว ว าประเทศไทยควรจะมีป าไม ร อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ หรือ ประมาณ 128 ล านไร จึงจะเป นปริมาณที่เหมาะสมต อการสร างดุลยภาพทางด านสภาพแวดล อม และเน นให ประชาชนได มีส วน ร วมในกิจกรรมของกรมป าไม เพื่อประโยชน 2 ประการ ดังนี้ 1. ป าเพื่อการอนุรักษ กําหนดไว เพื่ออนุรักษ สิ่งแวดล อม ดิน น้ํา พันธุ พืช พันธุ สัตว ที่หายาก และป องกันภัยธรรมชาติ อันเกิดจากน้ําท วมและการพังทลายของดิน ตลอดทั้งเพื่อประโยชน ในการศึกษา การวิจัย และนันทนาการของประชาชนในอัตรา ร อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ 2. ป าเพื่อเศรษฐกิจ กําหนดไว เพื่อการผลิตไม และป าเพื่อประโยชน ในทางเศรษฐกิจ ในอัตราร อยละ 15 ของพื้นที่ ประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ได จัดทําแผนพัฒนาการเกษตร โดยมุ งปรับโครงสร างการเกษตรตามแนวทาง เกษตรยั่งยืน ได แก เกษตรธรรมชาติ เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน วนเกษตร และโครงการน้ําตามแนวทฤษฎีใหม เพื่อให เกษตรกรมีคุณภาพชีวิต และความเป นอยู ที่ดีขึ้น อีกทั้งยังเป นการรักษาสภาพแวดล อมให ยั่งยืนอีกด วย ข าวรวม หมายถึง ข าวนาป รวมกับข าวนาปรัง ข าวนาป หมายถึง ข าวที่เพาะปลูกระหว างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 ตุลาคม ยกเว น จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ป ตตานี ยะลา และนราธิวาส หมายถึง ข าวที่เพาะปลูกอยู ในระหว างวันที่ 16 มิถุนายน ถึง 28 กุมภาพันธ ของป ถัดไป ข าวนาปรัง หมายถึง ข าวที่เพาะปลูกในฤดูแล ง หรือนอกฤดูฝน ระหว างวันที่ 1 พฤศจิกายน ถึง 30 เมษายนของป ถัดไป ยกเว นจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ป ตตานี ยะลา และนราธิวาส หมายถึง ข าวที่เพาะปลูกในระหว างวันที่ 1 มีนาคม ถึง 15 มิถุนายน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==